Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10462
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประภาภรณ์ พรหมสวัสดิ์, 2533--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-15T06:26:57Z-
dc.date.available2023-11-15T06:26:57Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10462-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นต่อระดับสมรรถนะของปลัดอำเภอในจังหวัดชุมพร (2) ศึกษาความคิดเห็นต่อแนวทางการพัฒนาสมรรถะของปลัดอำเภอในจังหวัดชุมพร (3) ศึกษาปัญหาในการพัฒนาสมรรถนะของปลัดอำเภอในจังหวัดชุมพร และ (4) เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาสมรรถนะของปลัดอำเภอในจังหวัดชุมพรให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น การศึกษานี้เป็นการวิจัยแบบผสมวิธี โดยใช้กลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพคือ นายอำเภอในจังหวัดชุมพร จำนวน 3 คน โดยเลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามขนาดของอำเภอ อำเภอขนาดเล็กเลือกอำเภอพะโต๊ะ อำเภอขนาดกลางเลือกอำเภอปะทิว และอำเภอขนาดใหญ่เลือกอำเภอสวี เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ประชากรเชิงปริมาณคือ ปลัดอำเภอที่ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชุมพร จำนวน 70 คน ศึกษาจากประชากรทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติ ดังต่อไปนี้ คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าเอฟ ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า (1) ความคิดเห็นต่อระดับสมรรถนะหลักของปลัดอำเภอในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ ด้านการบริการที่ดี รองลงมาคือ ด้านจริยธรรม ด้านการร่วมแรงร่วมใจ ด้านการมุ่งผลสัมฤทธิ์ ตามลำดับ ส่วนความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถะประจำตำแหน่งในภาพรวมอยู่ในระดับมากเช่นกัน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ ด้านสภาวะผู้นำ รองลงมาคือ ด้านการดำเนินการเชิงรุก และด้านศิลปะการสื่อสารจูงใจ ตามลำดับ (2) ความคิดเห็นต่อแนวทางในการพัฒนาสมรรถนะโดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ การพัฒนาโดยองค์การ รองลงมาคือ การพัฒนาโดยผู้บังคับบัญชา และน้อยที่สุดคือ การพัฒนาด้วยตนเอง (3) ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาสมรรถนะ คือ ภารกิจงานมีปริมาณมากไม่สอดคล้องกับอัตรากำลังที่มีอยู่ ปัญหาด้านบุคลากรให้ความสำคัญในการพัฒนาสมรรถนะของตนเองน้อย และหลักสูตรในการอบรมที่ไม่ตรงกับงานที่รับผิดชอบ และ (4) แนวทางในการพัฒนาสมรรถนะ ควรเน้นการใช้หลักการมอบหมายงาน หลักการบริหารชุมชนจัดการตนเองให้เข้มแข็งมากขึ้น การจัดทำสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น คู่มือปฏิบัติงาน กฎหมายที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสมรรถภาพในการทำงานth_TH
dc.subjectสมรรถนะth_TH
dc.subjectปลัดอำเภอth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleปัญหาและแนวทางการพัฒนาสมรรถนะของปลัดอำเภอในจังหวัดชุมพรth_TH
dc.title.alternativeProblems and guidelines for competency development of assistant chief district officer in Chumphon Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the opinion on competency level of assistant chief district officers in Chumporn Province (2) to study the opinion on guidelines for competency development of assistant chief district officers in Chumporn Province (3) to study problems of competency development of assistant chief district officers in Chumporn Province, and (4) to recommend guidelines for competency development of assistant chief district officer in Chumphon Province. The study was a mix method research. Samples for qualitative research were 3 chief district officers who were selected by purposive sampling method according the size of district. The small size selected Phato District, the medium size selected Pathio District, and the big size selected Sawi District. Research instrument was a structured interview form. The population for quantitative research was all 70 assistant chief district officers who have been working in Chumporn Province. Research instrument was a questionnaire. Quantitative data analysis was done through frequency, percentage, mean, standard deviation and F-Test and for qualitative data analysis employed content analysis. The findings of this study were (1) the overview of opinion on core competency level of assistant chief district officers in Chumporn Province was at high level. The highest mean was good service aspect, followed by ethic, participation and result aspects respectively. The overview of opinion on functional competency was at high level. The highest mean was leadership aspect, followed by proactive and communication art aspects respectively (2) the opinion on guidelines for competency development of assistant chief district officers in Chumporn Province was at high level. The highest mean was the development by organization, followed by bosses and themselves. (3) Problems on competency development were overload work which was not align with the existing manpower, the personnel was not put important towards self-development and the training course did not match the responsible tasks, and (4) guidelines for competency development were that there should focus on empowerment, community strengthening principles and provide electronic media such as work manual, legal manual.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons