Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10473
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุรางศ์ลักษณ์ นุ่มนาค, 2533--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-15T07:38:21Z-
dc.date.available2023-11-15T07:38:21Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10473-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับการให้บริการงานทะเบียนราษฎรตามหลักธรรมาภิบาลของสำนักงานเขตจตุจักร (2) ศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับคุณภาพการให้บริการงานทะเบียนราษฎรของสำนักงานเขตจตุจักร (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการให้บริการตามหลักธรรมาภิบาลกับคุณภาพการให้บริการงานทะเบียนราษฎรของสำนักงานเขตจตุจักร และ (4) เสนอแนะแนวทางพัฒนาคุณภาพการให้บริการงานทะเบียนราษฎรตามหลักธรรมาภิบาลของสำนักงานเขตจตุจักร การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ ประชาชนที่รับบริการจากฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตจตุจักร ระหว่างเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2564 ซึ่งไม่ทราบจำนวนที่แน่นอน ขนาดกลุ่มตัวอย่างคำนวณได้จากสูตรของคอแครน ได้จำนวน 400 คน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ และกลุ่มที่ 2 เป็นการสัมภาษณ์เชิงลึกข้าราชการผู้ปฏิบัติงานในฝ่ายทะเบียน สำนักงานเขตจตุจักร จำนวน 3 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบมีโครงสร้าง การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า (1) การให้บริการตามหลักธรรมาภิบาลของสำนักงานเขตจตุจักร โดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) คุณภาพการให้บริการงานทะเบียนราษฎรของสำนักงานเขตจตุจักร โดยรวมอยู่ในระดับมาก (3) ความสัมพันธ์ระหว่างการให้บริการตามหลักธรรมาภิบาลกับคุณภาพการให้บริการงานทะเบียนราษฎรของสำนักงานเขตจตุจักรมีทิศทางบวกในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (4) ข้อเสนอแนะแนวทางพัฒนาคุณภาพการให้บริการงานทะเบียนราษฎรตามหลักธรรมาภิบาลของสำนักงานเขตจตุจักร คือ ควรกำหนดระเบียบ ข้อบังคับ แนวปฏิบัติที่ชัดเจนและปรับปรุงให้มีความทันสมัย ควรเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนทราบตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสาร พ.ศ. 2540 ให้มากยิ่งขึ้น และควรส่งสริมให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถเพื่ออำนวยประโยชน์แก่ประชาชนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริการงานทะเบียนราษฎร--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleคุณภาพการให้บริการงานทะเบียนราษฎรตามหลักธรรมาภิบาลของสำนักงานเขตจตุจักรth_TH
dc.title.alternativeService quality of the civil registration section according to the good governance principles of Chatuchak District Officeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study opinion on service level of the Civil Registration Section according to the good governance principles of Chatuchak District Office (2) to study opinion on service quality level of Chatuchak District Office (3) to study the relationship between service of the Civil Registration Section according to the good governance principles and service quality of Chatuchak District Office, and (4) to recommend development guidelines towards service quality of the civil registration section according to the good governance principles of Chatuchak District Office. This study was a survey research. The population was divided into 2 groups. The first group was unknown numbers of customers who received service at the Civil Registration Section, Chatuchak District Office during July 2021. Sample size was calculated from Cochran’s formula and obtained 400 samples with accidental sampling method. The second group was 3 officials who had been working for the Civil Registration Section, Chatuchak District Office with in-depth interview technique. The research instrument were a questionnaire and a structured interview form. Data analysis for quantitative research employed frequency, percentage, mean, standard deviation, T-test, and correlation coefficient. For qualitative research employed content analysis. The results of the study revealed that (1) an overview of service level of the Civil Registration Section according to the good governance principles of Chatuchak District Office was at high level. (2) an overview of service quality of the Civil Registration Section of Chatuchak District Office was at high level (3) the relationship between service level and service quality of the Civil Registration Section Chatuchak District Office was at positively correlated at moderate level at statistically significant at 0.05 level, and (4) Recommendation for development guidelines towards service quality of the civil registration section according to the good governance principles of Chatuchak District Office were there should formulate laws, regulations, implementation guidelines clearly and up-to-date, disseminate more information to public according to Official information Act B.E.1997 as well as promote work awareness at full effort for publicen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons