Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10480
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญศรี พรหมมาพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนวลเสน่ห์ วงศ์เชิดธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorยานี สังข์ศรีอินทร์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-15T08:16:47Z-
dc.date.available2023-11-15T08:16:47Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10480-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างแบบสอบวินิจฉัย เรื่องระบบเลขฐาน วิชา คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ และ (2) ตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบวินิจฉัย เรื่องระบบ เลขฐาน วิชาคณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สำหรับ นักศึกษาสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตในภาคใต้ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2548 ของสถาบันการพลศึกษาวิทยาเขตภาคใต้ จำนวน 172 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบวินิจฉัยวิชาคณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ เรื่องระบบ เลขฐาน สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความตรง ค่าความเที่ยง การทดสอบค่าที ค่าความยาก และค่า อำนาจจำแนก ผลการวิจัยพบว่า (1) แบบสอบวินิจฉัย เรื่องระบบเลขฐาน วิชาคณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง มีจำนวน 7 ฉบับ รวม 90 ข้อ คือฉบับที่ 1 เรื่องการเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานอื่นๆ ฉบับที่ 2 เรื่องการเปลี่ยน เลขฐานอื่น ๆ เป็นเลขฐานสิบ ฉบับที่ 3 เรื่องการเปลี่ยนเลขฐานระหว่างเลขฐานอื่นๆ ที่ไม่ใช่เลข ฐาน 10 ฉบับที่ 4 เรื่องการบวกเลขฐานต่างๆ ฉบับที่ 5 เรื่องการลบเลขฐานต่าง ๆ ฉบับที่ 6 เรื่องการคูณเลขฐานต่าง ๆ ฉบับที่ 7 เรื่องการหารเลขฐานต่าง ๆ และ (2) แบบสอบวินิจฉัยมีค่า ความตรง ความเที่ยง ค่าความยาก และค่าอำนาจจำแนกอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.73-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอนth_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์--แบบทดสอบth_TH
dc.subjectแบบทดสอบวินิจฉัยth_TH
dc.titleการพัฒนาแบบสอบวินิจฉัยเรื่องระบบเลขฐานวิชาคณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ สำหรับนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตในภาคใต้th_TH
dc.title.alternativeThe development of diagnostic test on the topic of radix system in the mathematics for computer course for higher vocational certificate students of the Physical Education Institute, Southern Campusth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.73-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การประเมินการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) construct diagnostic test on the topic of Radix System in the Mathematics for Computer Course ; and (2) verify the quality of the developed diagnostic test on the topic of Radix System in the Mathematics for Computer Course for Higher Vocational Certificate students of physical Education Institute , Southern campus. The research sample consisted of 172 first year Higher Vocational Certificate students in the Business Computer Program who were studying in the 2005 academic year at the Physical Education Institute, Southern Campus. The research instrument was a Mathematics for Computer Course diagnostic test on the topic of Radix System for Higher Vocational Certificate students. The employed statistics were percentage, mean, standard deviation, validity index , reliability index , t-test, difficulty index , and discrimination index . Research findings revealed that (1) the developed diagnostic test on the topic of Radix System in the Mathematics for Computer Course of the Higher Vocational Certificate in Business Computer Program contained 90 test items in seven sub-test, namely , Sub - Test 1 : Test on Transformation of Decimal Number System into other Radix Systems ; Sub - Test 2 : Test on Transformation of Other Radix Systems into Decimal Number System ; Sub - Test 3 : Test on Transformation in the Radix System among Other Non - Decimal Number Systems ; Sub - Test 4 : Test on Addition of Numbers in Radix System ; Sub - Test 5 : Test on Subtraction of Numbers in Radix Systems ; Sub - Test 6 : Test on Multiplication of Numbers in Radix Systems ; and Sub - Test 7 : Test on Division of Numbers in Radix Systems ; and (2) constructed diagnostic test had appropriate validity, reliability, difficulty, and discrimination indicesen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons