Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10491
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพรปรีชา หงสะเดช, 2535--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-16T03:31:36Z-
dc.date.available2023-11-16T03:31:36Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10491-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)) -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ข้อมูลพื้นฐานด้านสังคม เศรษฐกิจ ของเกษตรกรเจ้าของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร 2) การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรตามมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร 3) ความต้องการสื่อเพื่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรของเกษตรกรและนักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 4) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการส่งเสริมการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรตามมาตร ฐานแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ประชากรในการวิจัยคือ เกษตรกรเจ้าของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรจังหวัดระยอง จำนวน 80 แหล่ง และนักวิชาการส่งเสริมการเกษตรผู้รับผิดชอบงานท่องเที่ยวเชิงเกษตร ระดับอำเภอจำนวน 8 คน เก็บข้อมูลจากประชากรทุกรายโดยใช้แบบสัมภายณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุดค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การจัดลำดับ และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย 48.61 ปี จบการศึกษาในระดับปริญญาตรีมากที่สุด ประกอบอาชีพที่ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัวนอกเหนือจากอาชีพเกษตรกร เกือบทั้งหมดเป็นสมาชิกเครือข่ายท่องเที่ยวเชิงเกษตรจังหวัดระยอง มีรายได้จากการท่องเที่ยวเชิงเกษตรเฉลี่ย 247.062.50 บาทต่อปี 2) มากกว่าร้อยละ 85 มีการจัดการตามมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในประเด็น มีระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานไฟฟ้าประปาเพียงพอสำหรับรองรับนักท่องเที่ยว กำหนดจำนวนนักท่องเที่ยวให้เหมาะสมกับขนาดพื้นที่ และการโฆษณาผ่าน สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อวิทยุ สื่อโทรทัศน์ เว็บไซต์ ซึ่งสอดคล้องกับการส่งเสริมของนักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 3) มี) เกษตรกรและนักวิชาการส่งเสริมการเกษตรมีความต้องการสอดคลองกัน คือ ต้องการสื่อเทคโน โลยีสารสนเทศในระดับมากที่สุด รองลงมามีความต้องการสื่อสังคมในระดับมาก 4 เกษตรกรครึ่งหนึ่งมีปัญหาเรื่อง ไม่มีการจัดทำโครงสร้างการบริหารจัดการองค์กร ไม่มีการสร้างเครื่อข่ายระดับภาค/ระดับประเทศ/ระดับนานาชาติ ส่วนใหญ่ให้ข้อเสนอแนะให้มีการสนับสนุนให้ความร่วมมือกับชุมชนเพื่อสร้างความเข้มแข็งth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงเกษตร--ไทย--ระยองth_TH
dc.titleการจัดการตามมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและความต้องการสื่อเพื่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรของเกษตรกรจังหวัดระยองth_TH
dc.title.alternativeManagement of agro-tourism according to tourist attractions standard and needs of media for agro-tourism extension by farmers in Rayong Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) basic social and economic information of farmers who owned agro-tourism attractions 2) agro-tourism attraction management according to agro-tourism attraction standard 3) the media needs for agro-tourism extension of farmers and agricultural extensionists 4) problems and suggestions in agro-tourism attraction management in the extension of agro-tourism attraction management according to agro-tourism attraction standard. The population of this research was 80 farmers who owned agro-tourism attractions in Rayong province and 8 agricultural extensionists who were responsible for district agro-tourism work. Data was collected from the entire population through conducting interview. Data was analyzed by using statistics such as frequency, percentage, minimum value, maximum value, mean, standard deviation, ranking, and content analysis. The results of the research revealed that 1) farmers who were the owners of the agro-tourism attractions had the average age of 48.61 years and graduated with bachelor degree the most. Apart from working as farmers, they worked as merchants/business owners. Almost all of them were members of agro-tourism network of Rayong province. They earned the average income of 247,062.50 Baht per year from agro-tourism. 2) More than 85% adopted the agro-tourism attraction standard in the aspect of having adequate basic utility system to cater tourists, limiting appropriate number of tourists to fit with the area, and promoting the attractions through publication media, radio media, television media, and website which were coincided with the extension from the agricultural extensionists. 3) Their needs were aligned with the needs of agricultural extensionists in regards to the needs for information technology media at the highest level. Second to that would be the needs for social media at the high level. 4) Half of the farmers who were the owners of agro-tourism attractions faced with the problems about non-existence of organization management structure and regional/national/international network creation. Most of them suggested that there should be support and cooperation with community to build strong attractions.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.17 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons