Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10507
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกรอุมา ตรีกุลธนาโชติ, 2532--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2023-11-16T07:22:18Z-
dc.date.available2023-11-16T07:22:18Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10507-
dc.description.abstractความคาดหวังของโรงพยาบาลเอกชนต่อหน่วยงานทันตกรรม คือ ผลกำไรจากการสร้างรายได้ ซึ่งการที่จะประสบผลสำเร็จดังกล่าวผู้บริหารหน่วยงานทันตกรรมจำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจในบริบทและแนวทางการจัดการหน่วยงานทันตกรรม ดังนั้น การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำคู่มือการจัดการหน่วยงานทันตกรรมเบื้องต้น สำหรับผู้บริหารโรงพยาบาลเอกชน เพื่อให้ผู้บริหารโรงพยาบาลสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการหน่วยงานทันตกรรมที่รับผิดชอบ ขั้นตอนในการจัดทำคู่มือ ได้แก่ (1) การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง (2) การจัดทำร่างคู่มือฯ (3) การตรวจสอบความตรงของเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ค่าเฉลี่ยดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 0.89 (4) ปรับปรุงคู่มือตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ และ (5) การนำคู่มือไปทดลองใช้กับผู้บริหารหรือผู้ที่มีตำแหน่งเกี่ยวข้องกับการดูแลหน่วยงานทันตกรรม จำนวน 30 คน พร้อมทั้งประเมินความพึงพอใจต่อการใช้คู่มือดังกล่าว ผลการดำเนินงาน ได้คู่มือที่มีเนื้อหาประกอบด้วย (1) บทนำ (2) แนวคิดการจัดการหน่วยงานทันตกรรมเบื้องต้นโรงพยาบาลเอกชน (3) การจัดการงานบริการของหน่วยงานทันตกรรมฯ (4) การจัดการบุคลากรของหน่วยงานทันตกรรมฯ (5) การจัดการผู้รับบริการในหน่วยงานทันตกรรมฯ และ (6) การจัดการเครื่องมือ เครื่องใช้สำหรับหน่วยงานทันตกรรมฯ สำหรับผลการทดลองใช้คู่มือฯ พบกลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจต่อยู่มือโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้าน พบค่าเฉลี่ยความพึงพอใจสูงสุด ด้านรูปแบบการนำเสนอ คือ รูปแบบสำนวนภาษาที่อ่านเข้าใจง่าย ด้านเนื้อหา คือ เนื้อหามีความทันสมัยเป็นปัจจุบัน และด้านการนำไปใช้ คือ ความรู้จากคู่มือมีประโยชน์ในการพัฒนาการจัดการองค์กรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectบริการทางทันตกรรมของโรงพยาบาล--การจัดการth_TH
dc.titleคู่มือการจัดการหน่วยงานทันตกรรมเบื้องต้น สำหรับผู้บริหารโรงพยาบาลเอกชนth_TH
dc.title.alternativeBasic dental agency management manual for private hospital administratorsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeA private hospital's expectations of a dental agency are to gain revenue and profits. To achieve such a success, dental agency administrators need to have an understanding of the context and approach to managing the dental agency . The objective of this independent study was to prepare a basic dental agency management manual for private hospital administrators, which would be used as guidelines for managing a dental agency under their res ponsibility. The procedure for creating the manual included: (1) reviewing relevant literature; (2) preparing a draft manual; (3) checking the validity of content; the mean index of item item-objective congruence (IOC) was 0.89; (4) using expert recommendations to improve the manual; and (5) conducting a manual trial with 30 executives or other staff involved in dental care management; and their satisfaction with the use of the manual was also assessed. The finalized manual contains: (1) Introduction Introduction; (2) Conc epts of basic dental agency management in p rivate hospitals hospitals; (3) Service management of private hospital dental agencies agencies; (4) Personnel management of private hospital dental agencies agencies; (5) Management of service recipients in private hospital dental agencies agencies; and (6) Management of tools and appliances for dental agencies in private hospitals. The manual tryout results showed that, among all respondents, their average overall satisfaction with the manual was at the highest level. By each aspect, the highest av erage satisfaction scores were for its forma t, easy easy-to -read presentation and writing, up -to -date content, and real real-life applicable knowledge (useful for developing organizational management).en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons