Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10508
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพาณี สีตกะลิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจันทนา อุปมา, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2023-11-16T07:29:43Z-
dc.date.available2023-11-16T07:29:43Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10508-
dc.description.abstractการวิจัยแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่เลือกใช้บริการด้านการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งที่จังหวัดกระบี่ (2) ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการด้านการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งที่จังหวัดกระบี่ ประชากร คือ ผู้ใช้บริการ/ผู้ปกครองที่นำบุตรมาใช้บริการที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี ที่มาใช้บริการด้านการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งที่จังหวัดกระบี่ ปีละ 450 ราย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มอย่างง่าย จากการคำนวณได้กลุ่มตัวอย่าง 184 คน ได้กลุ่มตัวอย่าง 200 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม โดยผู้ปกครองของผู้ใช้บริการเป็นผู้ตอบแบบสอบถาม แบบสอบถามประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ด้านปัจจัยส่วนบุคคล ด้านส่วนประสมการตลาด และด้านการตัดสินใจเลือกใช้บริการ มีค่าความเที่ยงด้านส่วนประสมการตลาด และมีค่าความเชื่อมั่นที่ 0.933 และ 0.895 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ ผลที่ได้จากการศึกษาวิจัยพบว่า (1) ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่เป็นเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี อยู่ภายใต้การดูแลของผู้ปกครอง และผู้ปกครองส่วนใหญ่ มีการศึกษาระดับต่ำกวาปริญญาตรี มีอาชีพทำธุรกิจส่วนตัว/ค้าขาย รายได้ 15,000 -30,000 บาท/เดือน นับถือศาสนาอิสลาม และเคยมาใช้บริการการรักษาพยาบาลด้านอื่น ๆ ของโรงพยาบาล ปัจจัยส่วนประสมการตลาดทุกด้านภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด (2) ปัจจัยส่วนบุคคลไม่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการด้านการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งที่จังหวัดกระบี่ แต่ปัจจัยส่วนประสมการตลาด ด้านองค์ประกอบทางกายภาพ ด้านการส่งเสริมการขาย ด้านราคา ด้านบุคลากร และด้านผลิตภัณฑ์ มีผลเป็นในทิศทางเดียวกัน ต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการด้านการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งที่จังหวัดกระบี่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleปัจจยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการ การขริบหนังหุ้มปลาย อวัยวะเพศชายในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งที่จังหวัดกระบี่th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the decision to use male circumcision service at a private hospital in Krabi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis cross-sectional research aimed to identify: (1) personal factors and marketing-mix factors related to decision-making; and (2) personal factors and marketing-mix factors affecting the decision to use male circumcision service at a private hospital in Krabi province. The study was conducted in 200 service recipients randomly selected from all 450 under-15-year-old male clients at the hospital. A questionnaire was used for collecting data from the clients’ parents on personal factors, marketing-mix factors, and the decision to use circumcision service. The questionnaire’s reliability values for marketing-mix factors and decision were 0.933 and 0.895, respectively. Frequency, percentage, mean, standard deviation, and regression were used for data analysis. The results showed that: (1) concerning personal factors, of all 200 respondents, most of them were under 15 years of age, under the care of their parents. Most of the parents were Muslim with an educational level below the bachelor’s degree, had a private business or trading with a monthly income of 15,000–30,000 baht, and had ever used the hospital’s other services. And the overall marketing-mix factors were at the highest level; and (2) personal factors did not affect their decision to use male circumcision service, but marketing-mix factors (physical factors, promotion, prize, personnel, and products) significantly affected the decision to use such service at the hospital (p = 0.05).en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons