Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10513
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธนัญชนก พรมศรี, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-16T08:09:02Z-
dc.date.available2023-11-16T08:09:02Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10513-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการเป็นองค์การนวัตกรรมของสำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม (2) เปรียบเทียบการเป็นองค์การนวัตกรรมของสำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) เสนอแนะแนวทางการเป็นองค์การนวัตกรรมของสำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรคือ ข้าราชการในสำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม จำนวน 1,041 คน ขนาดกลุ่มตัวอย่างคำนวณตามสูตรทาโร่ยามาเน่ ได้จำนวน 289 คน ใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิเทียบสัดส่วนกลุ่ม เครื่องมือในการศึกษาคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมุติฐาน โดยใช้สถิติค่าที และค่าความแปรปรวน ผลการศึกษาพบว่า (1) สำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม มีระดับการเป็นองค์การนวัตกรรมในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า สำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมมีระดับการเป็นองค์การนวัตกรรมด้านโอกาสและภัยคุกคามสูงสุด รองลงมาคือ ด้านวิสัยทัศน์ ด้านการสื่อสารขององค์การ ด้านการมีส่วนร่วมในนวัตกรรม ด้านการฝึกอบรมและการพัฒนาบุคคล ด้านโครงสร้างองค์การ ด้านบุคลากร ด้านทีมงาน ด้านบรรยากาศในองค์การ และค้านองค์การแห่งการเรียนรู้ ตามลำดับ (2) ข้าราชการที่มีอายุการทำงานแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการเป็นองค์การนวัตกรรมของสำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมแตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 และ (3) แนวทางการเป็นองค์การนวัตกรรมของสำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม คือ การนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารงานยังมีข้อจำกัดให้สอดคล้องกับกฎระเบียบที่ควรส่งเสริมให้บุคลากรมีส่วนร่วมในกิจกรรมการจัดการความรู้ และประสบการณ์ในการทำงาน และ ควรส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการพัฒนาองค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการเป็นองค์การนวัตกรรมของสำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมth_TH
dc.title.alternativeThe innovation organization, Office of the Permanent Secretary, Ministry of Industryen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the innovation organization of the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Industry (2) to compare the innovation organization of the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Industry classified by personal factors, and (3) to recommend guidelines for being innovation organization of the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Industry. This study was a quantitative research. The population was 1,041 government officials of the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Industry. The sample size was calculated according to Taro Yamane formula and obtained 289 samples with proportional stratified random sampling. The research tool was a questionnaire. The statistics used for data analysis employed frequency, percentage, mean, standard deviation, T-test and one – way ANOVA. The research results revealed that (1) An overview of innovation organization level of the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Industry was at high level. When considering each aspect, it showed that aspects namely, opportunites and threat were at the highest mean, followed by vision, communication, involvement in innovation, training and officials’ development, structure, personnel, teamworking, creative climate and learning organization, respectively (2) Officials who were different in the duration of work experience had different opinion regarding innovation organization, at statistically significant at 0.05 level (3) Guidelines for being innovation organization of the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Industry were there should apply the created innovation with the limits of laws and regulations, the officials should be encouraged to participate in knowledge management activities and work experiences and innovation development should be more concreteen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.53 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons