กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10518
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรณา บัวเกิด | th_TH |
dc.contributor.author | มนสิกานต์ สุทธหลวง, 2533- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-16T08:44:47Z | - |
dc.date.available | 2023-11-16T08:44:47Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10518 | en_US |
dc.description.abstract | การค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างแบบฝึกโดยใช้สำนวนพื้นบ้านภาคเหนือเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านตีความ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนลองวิทยา อำเภอลอง จังหวัดแพร่ และ (2) ตรวจสอบคุณภาพของแบบฝึกที่สร้างขึ้น ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนลองวิทยา อำเภอลอง จังหวัดแพร่ จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบฝึกการอ่านตีความโดยใช้สำนวนพื้นบ้านภาคเหนือที่สร้างขึ้น แบบประเมินคุณภาพแบบฝึก และแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาปรากฏว่า (1) แบบฝึกโดยใช้สำนวนพื้นบ้านภาคเหนือเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านตีความที่สร้างขึ้น ประกอบด้วยเนื้อหาจำนวน 5 เรื่อง ได้แก่ (1.1) สำนวนเกี่ยวกับธรรมชาติและสภาพแวดล้อม (1.2) สำนวนเกี่ยวกับการทำงาน (1.3) สำนวนเกี่ยวกับการดำรงชีวิต (1.4) สำนวนเกี่ยวกับการประพฤติตน และ (1.5) สำนวนเกี่ยวกับการพูดจา โดยแต่ละเรื่องมีกิจกรรมท้ายบท และ (2) การตรวจสอบคุณภาพแบบฝึกโดยผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ในภาพรวมแบบฝึกการอ่านตีความโดยใช้สำนวนพื้นบ้านภาคเหนือมีความเหมาะสม ในด้านเนื้อหา ด้านกิจกรรม และด้านภาษาของแบบฝึกในระดับมากที่สุด และนักเรียนมีความพึงพอใจต่อแบบฝึกในระดับมากที่สุด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การอ่านตีความ--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | การอ่านขั้นมัธยมศึกษา | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน | th_TH |
dc.title | การสร้างแบบฝึกโดยใช้สำนวนพื้นบ้านภาคเหนือ เพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านตีความ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนลองวิทยา อำเภอลอง จังหวัดแพร่ | th_TH |
dc.title.alternative | Construction of a practice book by using local Northern literary style to develop interpretive reading ability for grade 9 students at Long Wittaya School, Long district, Phrae Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this independent study were (1) to construct a practice book by using local Northern literary style to develop interpretive reading ability of grade 9 students at Long Wittaya School in Long district of Phrae province; and (2) to verify quality of the constructed practice book. The key research informants were three experts and a group of 10 grade 9 students at Long Wittaya School in Long district of Phrae province. The research tools were the constructed practice book by using local Northern literary style to develop interpretive reading ability; an evaluation form to assess quality of the practice book; and an evaluation form to assess student’s satisfaction with the practice book. Data were statistically analyzed using the mean and standard deviation. Findings of the study were that (1) the constructed practice book by using local Northern literary style to develop interpretive reading ability comprised five exercises, namely, (1.1) literary style about nature and environment; (1.2) literary style about work; (1.3) literary style about living; (1.4) literary style about self-conduct; and (1.5) literary style about talking; each exercise was completed with end-of-exercise activities; and (2) results of quality verification of the practice book by experts showed that the experts considered the overall quality of the constructed practice book by using local Northern literary style to develop interpretive reading ability was appropriate in the aspects of content, activities, and language at the highest level. In addition, the students were satisfied with the practice book at the highest level. | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Edu-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 24.76 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License