Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10521
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุกัญญา จันทรสมโภชน์, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-17T01:53:23Z-
dc.date.available2023-11-17T01:53:23Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10521-
dc.description.abstractการศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)วิเคราะห์ความต้องการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักอำนวยการ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (2)เปรียบเทียบความต้องการของบุคลากรของสำนักอำนวยการสำนักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษข์ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) เสนอแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษข์ของสำนักอำนวยการ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมวิธี ประชากรที่ใช้ศึกษาจากประชากรทั้งหมดของสำนักอำนวยการ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ทั้ง 7 กลุ่ม โดยมีข้าราชการพลเรือนของแต่ละกลุ่มงาน จำนวนทั้งหมด 120 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ โดขสัมภายณ์ผู้อำนวยการกลุ่ม 1 คน นักทรัพยากรบุคคล 2 คน นักวิชาการศึกษา 2 คน นักจัดการงานทั่วไป 2 คน นักประชาสัมพันธ์ 2 คน และเจ้าพนักงานการเงินและบัญชี 6 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า (1) ความต้องการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักอำนวยการ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ บุคลากรส่วนใหญ่มีความต้องการพัฒนาในทุกด้าน โดยมีความเห็นว่า การปฐมนิเทศ การฝึกอบรม การสัมมนา การสอนงาน การเป็นพี่เลี้ยง การศึกษาดูงาน การศึกษาด้วยตนเอง มีความจำเป็นต่อหน่วยงานในระดับมาก และการศึกษามีความจำเป็นต่อหน่วยงานในระดับปานกลาง (2) เมื่อเปรียบเทียบความต้องการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของข้าราชการในสังกัดสำนักอำนวยการ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ระหว่างด้านการศึกษากับอายุ ด้านการฝึกอบรมกับวุฒิการศึกษา ด้านการสัมมนากับประสบการณ์ทำงาน และด้านการศึกษาด้วยตนเองกับรายได้ พบว่า มีความต้องการพัฒนาทรัพยากรมนุษข์ไม่แตกต่างกัน (3) แนวทางในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักอำนวยการ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการที่สำคัญ คือ ควรได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารและหน่วยงานในทุกด้านโดยเฉพาะควรจัดสรรทุนการศึกษาต่อ ควรจัดประชุมสัมมนาระหว่างส่วนราชการที่เกี่ยวข้องอย่างสม่ำเสมอควรมีระบบการเป็นพี่เลี้ยงในองค์กร มีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนหน้าที่ และควรสร้างบรรยากาสกระตุ้นให้บุคลากรสนใจที่จะพัฒนาตนเองth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์--ไทยth_TH
dc.titleการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักอำนวยการ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการth_TH
dc.title.alternativeHuman resource development of Office of the Permanent Secretary, Ministry of Educationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives were (1) to analyze the needs for human resource development in the Bureau of General Administration, Office of the Permanent Secretary, Ministry of Education (2) to compare the needs for human resource development in the Bureau of General Administration, Office of the Permanent Secretary Ministry of Education, categorized by personal factors and, (3) to propose human resource development suggestions for the Bureau of General Administration, Office of the Permanent Secretary, Ministry of Education This study was a mixed-method research. The sample 120 personnel from all 7 sectors under the Bureau of General Administration, Office of the Permanent Secretary, Ministry of Education. The tools were a questionaire and interview form. The key informants were consisted of: 1 sector director, 2 human resource officers, 2 general administration officers, 2 public relations officers, and 1 finance and accounting officer. The frequency, percentage, arithmetic mean and standard deviation were the statistics for analyzing the collected data. The results suggested that (1) The personnel in the Bureau of General Administration, Office of the Permanent Secretary, Ministry of Education had the needs for human resource development at a high level in each field; that is, orientation, training program, seminar, job training, job observation, and self-learning are the essentials that in need of human resource development. However, Education was at an average level. (2) After comparing personnel’ needs in human resource development by catagorizing personnel’s personal factors (education and age, training programs and educational degree, seminar and working experience, self-learning and income), there was no significant difference. (3) The significant suggestions for the Bureau of General Administration, Office of the Permanent Secretary, Ministry of Education mainly are: there should be supports in human resource development such as scholarship provision, regular meetings with other relevant organizations, coaching, job rotation and self-improvement encouragement.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.23 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons