Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10524
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิตติพงษ์ เกียรติวัชรชัยth_TH
dc.contributor.authorณณัฏฐ์ บุปะปา, 2512-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-17T02:18:46Z-
dc.date.available2023-11-17T02:18:46Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10524en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการบริหารธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทอง (2) เปรียบเทียบการบริหารธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทอง จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) เสนอแนวทางการพัฒนาการบริหารธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทอง การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือบุคลากรที่ปฏิบัติงานในองค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทอง ทั้งหมด 16 คน โดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีของเครจชี่และมอร์แคน ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 102 คน ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษา พบว่า (1) การบริหารธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทอง ได้แก่ 1) หลักนิติธรรม 2) หลักคุณธรรม 3) หลักการมีส่วนร่วม 4) หลักความรับผิดชอบ 5) หลักความ โปร่งใส 6) หลักความคุ้มค่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2 บุคลากรที่มีหน่ วยงานสังกัดต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทองที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 (3) แนวทางการพัฒนาหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทอง มีดังนี้ 1 ) ผู้นำองค์กรต้องเข็มแข็ง สามารถสร้างความสัมพันธ์กับบุคลากรในทุกระดับ เพื่อสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรเห็นความสำคัญ และปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลได้อย่างเต็มใจ 2) บุคลากรควรมี โอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการ หรือขั้นตอนต่าง ๆ ของการบริหารหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทอง 3) การสร้างค่านิยมองค์กร หรือวัฒนธรรมองค์การที่ปลูกฝั่งให้ยึดหลักการบริหารธรรมาภิบาลโดยทุกหน่วยงานปฏิบัติร่วมกัน และมีการถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น เพื่อคนรุ่นใหม่ได้เห็น และปฏิบัติสืบเนื่องต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectธรรมรัฐth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการบริหารธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทองth_TH
dc.title.alternativeGood governance management of Ang Thong Provincial Administrative Organizationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to: (1) study levels of governance management of Ang Thong Provincial Administrative Organization; (2) compare the governance management of the Ang Thong Provincial Administrative Organization, classified by personal factors; and (3) propose a guideline for the development of governance management in the Ang Thong Provincial Administrative Organization. The study was conducted by means of survey research, the population used in the study was a total of 165 personnel, working in the Ang Thong Provincial Administrative Organization. The sample size was determined by using the method of Craigie and Morgan, and a finite sample of 102 people was obtained by means of simple random sampling. The instrument used in data collection was a questionnaire while the statistics applied for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, T-test and One-Way ANOVA. The result founded that: (1) the governance management of the Ang Thong Provincial Administrative Organization that consisted of 1) the rule of law; 2) morality; 3) participation; 4) responsibility; 5) transparency; and 6) worthiness,was at a high level in overall; (2) the personnel under different units showed significantly different opinions on the governance management of the Ang Thong Provincial Administrative Organization at the level of 0.05; (3) the guideline for the development of good governance in the Ang Thong Provincial Administrative Organization consisted of: 1) the corporate leader must be strong, be able to build relationships with personnel at all levels to motivate personnel to realize the importance of and willingly comply with the principles of good governance; 2) the personnel should be provided of opportunity to participate in the processes or steps of the governance management in the Ang Thong Provincial Administrative Organization; 3) the creation of corporate values or organizational culture to be cultivated should adhere to the principles of governance management in which all units practice together and pass it on from generation to generation, so that the new generations will realize and continue to practice it.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.8 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons