Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10532
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิตติพงษ์ เกียรติวัชรชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภัทรานิษฐ์ ชัยประสิทธิ์, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-17T03:11:31Z-
dc.date.available2023-11-17T03:11:31Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10532-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับการเป็นองค์การอัจฉริยะของกรมสรรพสามิต (2) เปรียบเทียบการเป็นองค์การอัจฉริยะของกรมสรรพสามิต จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) แนวทางการพัฒนากรมสรรพสามิตสู่การเป็นองค์การอัจฉริยะ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการในสังกัดกรมสรรพสามิต จำนวน 3,183 คน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 355 คน ซึ่งคำนวนจากสูตรของทาโร่ยามาเน่ ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษา พบว่า (1) ระดับการเป็นองค์การอัจฉริยะของกรมสรรพสามิต โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ได้แก่ ด้านสติปัญญา ด้านข้อมูลสารสนเทศ และด้านความคิดสร้างสรรค์ พบว่าอันดับสูงสุดคือ ด้านข้อมูลสารสนเทศ (2) ข้าราชการกรมสรรพสามิตที่มีอายุ ระดับการศึกษา อายุการทำงาน และสังกัด ต่างกันมีความคิดเห็นต่อการเป็นองค์การอัจฉริยะของกรมสรรพสามิตต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) แนวทางการพัฒนากรมสรรพสามิตสู่การเป็นองค์การอัจฉริยะมี 3 ประการได้แก่ 1) ควรให้บุคลากรทุกระดับได้รับการฝึกอบรมศึกษาดูงาน หรือมีผู้เชี่ยวชาญในการให้คำปรึกษาให้คำแนะนำ เพื่อพัฒนาและยกระดับสติปัญญาของบุคลากร 2) ควรกระจายเทคโนโลยีหรือเครื่องมืออันทันสมัยให้ทั่วถึงทั้งองค์กร และ 3) ควรเปิดโอกาสให้บุคลากรได้แสดงความคิดริเริ่มสร้งสรรค์ ตลอดจนสร้างทีมงานเพื่อแสวงหาการปฏิบัติที่เป็นเลิสมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาองค์การth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกรมสรรพสามิตth_TH
dc.subjectการพัฒนาองค์การth_TH
dc.subjectการบริหารองค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการเป็นองค์การอัจฉริยะของกรมสรรพสามิตth_TH
dc.title.alternativeBeing an intelligent organization of the Excise Departmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to: (1) study the level of being an intelligent organization of the Excise Department. (2) to compare being an intelligent organization of the Excise Department, classified by personal factors, and (3) to study the guidelines for the development of the Excise Department to become an intelligent organization. The study was a quantitative research. The population in this study was 3,183 officer of the Excise Department. The sample size was calculated by using Taro Yamane's formula and obtained 355 persons with stratified random sampling method.The tool in this research was a questionnaire. Statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, T-test and one-way analysis of variance. The results of the study revealed that (1) the level of being an intelligent organization of the Excise Department in overall and in each aspect were at a high level. When considering each aspect, such as intelligence, information and idea It was found that the highest ranking was Information. (2) the officials of the Excise Department with different age, education level, working age, and affiliation had different opinions on being a intelligent organization of the excise Department. with statistical significance at the level of 0.05. (3) guidelines for the development of the Excise Department to become a intelligent organization in 3 ways: first, Provide personnel at all levels to receive training and study visits Or have experts to give advice and advice. To develop and upgrade the intelligence of personnel. Second, Must distribute modern technology or tools throughout the organization. And third, Provide opportunities for personnel to show their creativity as well as build a team to seek best practices to apply in the development of the organization.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.92 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons