Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10538
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธัญญรัศม์ วศวรรณวัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอรทัย ปันมา, 2533--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-17T04:08:01Z-
dc.date.available2023-11-17T04:08:01Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10538-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการตัดสินใจใช้บริการทางการเงินผ่านโมบายแบงก์กิ้งแอปพลิเคชันของผู้ใช้บริการในอำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 2) เปรียบเทียบการตัดสินใจของผู้ใช้บริการทางการเงินผ่านโมบายแบงก์กิ้งแอปพลิเคชัน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ 3) ศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ปัจจัยด้านการรับรู้ความสามารถของตนเองและปัจจัยด้านการเข้ากันได้ของรูปแบบการดำเนินชีวิต ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการทางการเงินผ่านโมบายแบงก์กิ้งแอปพลิเคชันของผู้ใช้บริการในอำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ประชากรที่ศึกษา ได้แก่ ผู้ใช้บริการทางการเงินผ่านโมบายแบงก์กิ้งแอปพลิเคชันในอำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ โดยกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามสูตรที่ไม่ทราบจำนวนประชากรได้จำนวนตัวอย่าง 392 ราย ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณผล การศึกษาพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างใช้บริการของธนาคารสิกรไทยบ่อยที่สุด โดยส่วนใหญ่เลือกใช้บริการโอนเงิน เช็คยอดเงิน การชำระค่าสินค้าและบริการ และการถอนเงินสดโดยไม่ใช้บัตร เหตุผลสำคัญที่สุดในการตัดสินใจสมัครใช้งานแอปพลิเคชัน คือ ความสะดวกสบาย สามารถใช้บริการได้ทุกที่ทุกเวลา มีความถี่ในการใช้งาน 7-9 ครั้งต่อเดือน และช่วงราคาที่ใช้ในการทำธุรกรรมบ่อยที่สุดอยู่ระหว่าง 500 - 1,000 บาท โดยส่วนใหญ่ตัดสินใจใช้บริการในโอกาสต่อไปและมีความพอใจในบริการระดับมากที่สุด 2) กลุ่มตัวอย่างที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกันตัดสินใจใช้บริการไม่แตกต่างกัน 3) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ปัจจัยด้านการรับรู้ความสามารถของตนเองและปัจจัยด้านการเข้ากันได้ของรูปแบบการดำเนินชีวิต สามารถร่วมกันส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการได้ร้อยละ 18 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยปัจจัยด้านบุคลากรมีอิทธิพลมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ปัจจัยด้านการเข้ากันได้ของรูปแบบการดำเนินชีวิต และปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลำดับ.th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการชำระเงิน--ไทยth_TH
dc.subjectการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการทางการเงินผ่านโมบายแบงก์กิ้งแอปพลิเคชันของผู้ใช้บริการในอำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting decision of mobile banking application users in Fang district, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this independent study were to 1) study decision to use mobile banking application of users in Fang District, Chiang Mai Province; 2) compare decision to use mobile banking application, classified by personal factor; and 3) study marketing mix factors, self-efficacy factor and lifestyle compatibility factor that affect the decision to use financial service through mobile banking application. The sample group in this study was 392 users who used financial service through mobile banking application in Fang District, Chiang Mai Province, selected by convenience sampling. A constructed questionnaire was used as a tool to collect data. The statistics employed for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t- test, one-way ANOVA and multiple regressions. The results of this study revealed that 1) the sample group frequently used mobile banking application of Kasikorn Bank for money transfer, checking the balance, paying products and services and cardless withdrawal service. The most important reason to sign up for an application was convenience. The sample group could use service anytime and anywhere. There was a frequency of use 7-9 times per month. Most amount range used service for frequent transactions was between 500 - 1,000 Baht. Most of them decided to use service on next time and they were satisfied with service at the highest level. 2) The sample group with different personal factors decided to use service with no difference. And 3) there were 3 factors of marketing mix factors, self-efficacy factor and lifestyle compatibility factor that affected 18 percent of service decision, with a statistical significance at 0. 05 levels as follows; personnel factors, lifestyle compatibility factors and marketing promotion factors respectivelyen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.78 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons