Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10545
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนารีรัตน์ สีระสาร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธำรงเจต พัฒมุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorแพงมณี ขัดนันตา, 2535--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-20T03:23:24Z-
dc.date.available2023-11-20T03:23:24Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10545-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร 2) ความรู้เกี่ยวกับการจัดการโรคฮวงลองบึงในส้มเขียวหวานของเกษตรกร 3) การจัดการ โรคฮวงลองบิงในส้มเขียวหวานของเกษตรกร 4) ความต้องการการส่งเสริมในการจัดการโรคฮวงลองบึงในส้มเขียวหวานของเกษตรกร และ 5) ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการส่งเสริมการจัดการโรคฮวงลองบิงในส้มเขียวหวานของเกษตรกร ประชากรที่ศึกษา คือ เกษตรกรผู้ปลูกส้มเขียวหวาน ในพื้นที่อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ ปีการผลิต 2562/63 จํานวน 1,274 ราย โดยใช้สูตรคำนวณของทาโร่ ยามาเน่ ที่ระดับความคลาดเคลื่อน 0.07 ได้กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 176 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการจัดอันดับ ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 49.98 ปี ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา มีพื้นที่ปลูกส้มเขียวหวานเฉลี่ย 10.28 ไร่ต่อครัวเรือน มีประสบการณ์ในการปลูกส้มเขียวหวานเฉลี่ย 19.10 ปี จํานวนแรงงานในครัวเรือนที่ทําสวน ส้มเขียวหวาน เฉลี่ย 2.48 คน จํานวนแรงงานจ้างในการทำสวนส้มเขียวหวาน เฉลี่ย 1.38 คน ได้ผลผลิตส้มเขียวหวานเฉลี่ย 1,479.70 กิโลกรัมต่อไร่ มีรายได้จากการปลูกส้มเขียวหวานเฉลี่ย 54,182.00 บาท/ไร่ มีรายจ่ายในการทำสวนส้มเขียวหวานเฉลี่ย 6,227.30 บาท/ไร่ ปี ร้อยละ 84.1 ยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีในการผลิตส้มเขียวหวาน 2) เกษตรกรมีความรู้ในวิธีการพื้นฐานในการจัดการโรคฮวงลองบึง โดยที่ส่วนใหญ่ไม่ใช้ยาปฏิชีวนะในการจัดการโรค 3) เกษตรกรมีการจัดการโรคฮวงลองบึงมากที่สุด คือ การตัดแต่งกิ่งที่โทรมเป็นโรคออกและทำลายออกจากแปลง 4) เกษตรกรมีความต้องการได้รับความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและกำจัดโรคฮวงลองบึงระดับมากเรื่องการทําลายกิ่งส้มที่เป็นโรค และต้องการรับการถ่ายทอดความรู้โดยการฝึกอบรม 5) เกษตรกรมีปัญหาราคาผลผลิตตกต่ำ ต้นทุนการผลิตสูง น้ำชลประทาน (ขาดแคลนแหล่งน้ำ) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการส่งเสริมการจัดการโรคฮวงลองวิ่งในส้มเขียวหวานเจ้าหน้าที่ควรมีถ่ายทอดความรู้แบบกลุ่ม โดยการจัดอบรมและเยี่ยมชมแปลงที่ประสบความสำเร็จในการจัดการโรคฮวงลองบึง เพื่อให้เกษตรกรเกิดการเรียนรู้ร่วมกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectส้มเขียวหวาน--โรคและศัตรูพืชth_TH
dc.subjectการส่งเสริมการเกษตร--ไทย--แพร่th_TH
dc.titleแนวทางการส่งเสริมการจัดการโรคฮวงลองบิงในสวนส้มเขียวหวานของเกษตรกร อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่th_TH
dc.title.alternativeExtension guidelines on management approach of Huanglongbing disease in farmer's tangerine orchard at Wang Chin District, Phrae Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: 1) to explore social and economic conditions of the rice farmers; 2) to study their knowledge of Huang Long Bing Disease in Tangerine; 3) to management of Huang Long Bing disease in tangerines; 4) to needs of knowledge of Huang Long Bing disease management in tangerine and 5) to explore the farmers’ problems and suggestions of extension guidelines of Huang Long Bing Disease in Tangerine. The population consisted of 1,274 tangerine farmers in the crop year of 2019/20 in Tung Chang District, Nan Province. The 176 sample size was based on Taro Yamane (1973) formula with 7 % variation. Structured interviews were used to collect data. Statistics used in data analysis included frequency, percentage, average, minimum, maximum, standard deviation and ranking. The results indicated that: 1) Most of farmer’s tangerine were male with the average age of 49.98 and finished primary school. The average of tangerine planting area was 10.28 rai per household. The average of experience in growing tangerines was 19.10 years. The average members of tangerine orchard in household were 2.48 persons. The number of workers employed in tangerine orchard was 1.38 average. The average of yielded of tangerine orchard 1,479.70 kg / rai. The average income of tangerine orchard cultivation was 54,182.00 baht / rai / year. The average of expenditure tangerine plantation was 6,227.30 baht / rai / year and 84.1 percent were not yet received GAP certification. 2) Farmers were basic knowledge of management approach of Huanglongbing disease. Most of farmer not use antibiotics for disease management. 3) Most of Farmers practice Hoang Long Bing disease management, shabby pruning and breaking off the plot. 4) Most of farmers need to gain knowledge on the prevention and eradication of Huang Long Bing disease by training. 5) Farmers’ problems were included low prices, high production costs, irrigation water (lack of water source). With regard to extension guidelines of Huang Long Bing disease management, staff should transfer knowledge by training and visiting successful farm with management of Huang Long Bing disease to learn togetheren_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.01 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons