Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10546
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนารีรัตน์ สีระสาร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธำรงเจต พัฒมุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสกุลนุช แก้วเทพ, 2532--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-20T03:32:40Z-
dc.date.available2023-11-20T03:32:40Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10546-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร 2) สภาพการผลิตข้าวและความรู้ด้านการจัดการศัตรูข้าวของเกษตรกร 3) การจัดการศัตรูข้าวของเกษตรกร 4) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการจัดการศัตรูข้าวแบบผสมผสานของเกษตรกร และ 5) แนวทางการส่งเสริมการจัดการศัตรูข้าวแบบผสมผสานของเกษตรกร ประชากรที่ศึกษา คือ เกษตรกรผู้ผลิตข้าวอำเภอทุ่งช้าง จังหวัดน่าน ปีการผลิต 2562/63 จํานวน 260 ครัวเรือนและคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตร านวณของ ทาโร่ ยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 ใต้กลุ่มตัวอย่าง 158 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบสอบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าต่าสุด ค่าสูงสุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการจัดอันดับ ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 56,48 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา จํานวนสมาชิกในครัวเรือน เฉลี่ย 3.5) คน ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มสมาชิก ธกส. มีจํานวนแรงงานภาคการเกษตร เฉลี่ย 1.93 คน พื้นที่การผลิตข้าว เฉลี่ย 11.51 ไร่ 2) สภาพการผลิตข้าว เกษตรกรปลูกข้าวในพื้นที่ราบลุ่ม เป็นดินเหนียว โดยปลูกข้าวพันธุ์ กข 6 โดยแบบนาหว่านแห้ง โดยพบโรคไหม้ เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล และหญ้าดอกขาว 3) การจัดการศัตรูข้าวของเกษตรกร พบว่า เกษตรกรร้อยละ 85.83 มีการเลือกใช้วิธีเกษตรกรรมมากที่สุดร่วมกับวิธีการใช้สารเคมี การใช้สารสกัดจากธรรมชาติ การใช้พันธุ์ต้านทานและพันธุ์ที่หลากหลาย 4) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการจัดการศัตรูข้าวแบบผสมผสานของเกษตรกร พบปัญหาด้านความพร้อมของเกษตรกรที่มีต่อการปฏิบัติในการจัดการศัตรูข้าวแบบผสมผสาน 5) แนวทางการส่งเสริมเกษตรกรต้องการองค์ความรู้ด้านการจัดการศัตรูข้าวแบบผสมผสาน โดยวิธีส่งเสริมแบบกลุ่ม และโดยการสาธิต ข้อเสนอแนะเกษตรกรต้องการอบรมความรู้เรื่องการจัดการศัตรูข้าวแบบผสมผสานอย่างต่อเนื่องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectข้าว--โรคและศัตรูพืช--การจัดการth_TH
dc.subjectการส่งเสริมการเกษตร--ไทย--น่านth_TH
dc.titleแนวทางการส่งเสริมการจัดการศัตรูข้าวแบบผสมผสานของเกษตรกร อำเภอทุ่งช้าง จังหวัดน่านth_TH
dc.title.alternativeExtension guidelines on integrated rice pest management for farmers in Tung Chang District, Nan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: 1) to explore social and economic conditions of the rice farmers; 2) to study their rice production and their knowledge of rice pest management; 3) to gain an insight in to the farmers’ pest management; 4) to explore the farmers’ problems and suggestions of integrated rice pest management; and 5) to study extension guidelines on integrated rice pest management. The population consisted of 260 rice farmers in the crop year of 2019/20 in Tung Chang District, Nan Province. The 158 sample size was based on Taro Yamane (1973) formula with 5 % variation. Structured interviews were used to collect data. Statistics used in data analysis included frequency, percentage, average, minimum, maximum, standard deviation and ranking. The results indicated that most of the farmers were male with the average age of 56.48 years and finished primary school. The average number of their household members was 3.51. Most of the farmers were customers the Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives (BAAC). The average number of labor was 1.93 .The average of rice production area was 11.51 rai. Regarding the rice production conditions, rice was grown in clay soil in lowland areas, and RD6 was the rice variety grown in the form of dry rice fields. Rice blast disease, brown plant hopper, little ironweed were found. With regard to integrated rice pest management, 85.83% of the farmers used the cultural control method the most with chemical control, natural substance, and used the resistant and diverse varieties. The problem was a lack of readiness for integrated rice pest management. With regard to extension guidelines of farmers, there were needs for a body of knowledge about integrated rice pest management through group extension and demonstration, and the farmers needed continuous training in integrated rice pest managementen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.49 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons