Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10559
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พอพันธ์ อุยยานนท์ | th_TH |
dc.contributor.author | ธิดารัตน์ ชุมภูบาง, 2534- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-21T03:44:10Z | - |
dc.date.available | 2023-11-21T03:44:10Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10559 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจชุมชนจากหมู่บ้านเกษตรกรรมสู่หมู่บ้านท่องเที่ยว 2) เพื่อศึกษาบทบาทของแหล่งเงินทุนที่มีผลต่อเศรษฐกิจชุมชน และ 3) เพื่อศึกษากลไกของเศรษฐกิจชุมชนที่ทำให้ชุมชนเกิดการพัฒนา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถามปลายปิดและแบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบมีโครงสร้างเพื่อรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือ 1) สมาชิกภายในชุมชน จํานวน 100 ชุด และ 2) กลุ่มผู้นําชุมชน ประกอบด้วย พระสงฆ์ ผู้นำชุมชน ผู้อาวุโส จำนวน 11 คน โดยได้ทำการศึกษา 2 ช่วง คือ ก่อนการเปลี่ยนแปลง (ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งหมู่บ้าน - พ.ศ. 2542 ) และหลังการเปลี่ยนแปลง (พ.ศ. 2543 - 2561) ผลการวิจัย พบว่า 1) การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจชุมชน ทําให้การประกอบอาชีพส่วนใหญ่จากภาคเกษตรกรรมเปลี่ยนเป็นการประกอบอาชีพอยู่ในภาคบริการควบคู่กับภาคเกษตรกรรม ส่งผลให้รายได้ของครัวเรือนจากเดิมมีรายได้น้อยและไม่คงที่ โดยปี พ.ศ. 2562 ครัวเรือนมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 32 เงินออมเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 24 เป็นร้อยละ 47 และหนี้สินลดลงจากร้อยละ 26 เป็นร้อยละ 20 นอกจากนั้น รายได้จากการท่องเที่ยวยังก่อให้เกิดสวัสดิการให้กับคนในชุมชน และมีกองทุนกลางของหมู่บ้านเพื่อให้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาหมู่บ้าน 2) บทบาทของแหล่งเงินทุนที่สำคัญที่มีผลต่อเศรษฐกิจชุมชน ได้แก่ สหกรณ์ไฟฟ้าโครงการหลวงแม่กำปอง จำกัด โดยเป็นแหล่งกู้ยืมที่สำคัญของชุมชน และเป็นหน่วยงานหลักในการดูแลรายได้จากการท่องเที่ยวของชุมชน ซึ่งรายได้ของสหกรณ์ฯ ที่มาจากการท่องเที่ยว ไฟฟ้าพลังงานน้ำ และอื่นๆ เกิดการกระจายรายได้คืนสู่สมาชิกในรูปแบบเงินปันผล รวมทั้งมีการรับซื้อสินค้าทางการเกษตร และจำหน่ายสินค้าในราคาที่เป็นธรรม และ 3) กลไกที่ทำให้เศรษฐกิจชุมชนแม่กำปองเกิดการพัฒนา ได้แก่ การมีผู้นำชุมชนที่เข้มแข็ง การรักษาธรรมชาติ วัฒนธรรม วิถีชีวิต การมีส่วนร่วม และเคารพ กฎ กติกาของคนในชุมชนวัดที่เป็นศูนย์รวมจิตใจ การรวมกลุ่ม การให้คนรุ่นใหม่เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา รวมทั้งส่งเสริมให้หมู่บ้านเป็นทั้งแหล่งท่องเที่ยวและแหล่งเรียนรู้ ดังนั้น ควรมีการสนับสนุนส่งเสริมให้คนรุ่นใหม่เรียนรู้และสืบสานวิถีชีวิตให้คงเป็นอัตลักษณ์เฉพาะของชุมชนบ้านแม่กำปองต่อไป | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การปรับโครงสร้างนโยบายเศรษฐกิจ--ไทย--เชียงใหม่ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | แม่กำปอง (เชียงใหม่)--ภาวะเศรษฐกิจ | th_TH |
dc.title | การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจจากภาคเกษตรกรรมสู่การท่องเที่ยว : กรณีหมู่บ้านแม่กำปอง อำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ | th_TH |
dc.title.alternative | Economic stuctural change from agriculture to tourism : the case of Mae Kampong village, Amphoe Mae on district, Chiangmai Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were 1) to study the community economic structural changes from an agricultural village to tourist village 2) to study the effects of the source of the fund on community economy and 3) to study the mechanisms of the community economy that support community development. The closed-ended questionnaire and the form of the structured in-depth interview were utilized for collecting the data from the samples which came from 1) the 100 community members and 2) the 11 community leaders who are monks, community leaders, and elders. The study was separated into two periods, i.e., before the change (from the formation of the village to 1999) and after the change (from 2000 to 2018). The results showed that 1) the community economic structural change turned most of the agriculture career into a kind of career that combines between agriculture and service activities which made the households who used to have a low and unstable income, especially in 2019, obtained 82 % additional income, raised the saving from 24 % to 47 %, and reduced their debt from 26 % to 20 %. Moreover, the revenue obtained from tourism helped to create welfare for community members. Also, there is a village fund for managing the natural resources and village development, 2) the role of the source of funds which affects the community economy is the Electricity Cooperative of Mae kampong Royal Project Limited which is a source of fund for the community and a major organization that manages the income gained from tourism within community. In general, the revenue of this cooperative derived from tourism, hydroelectricity, and other sources has been distributed to community members in the form of dividends and purchased of the agricultural products which were resold at a fair price, and 3) the mechanisms that enable the Mae Kampong community economy to be developed include the potential community leaders, the preservation of nature, culture and way of life, participation and respect for the rules and regulation of the community, the temple which is the centre of mind, group formation, the willingness for the new generation to participate in the development, and the supports that enable the village to be a tourist and learning area. Therefore, it should encourage the new generation to learn and foster the way of life to keep Mae Kampong community identity | en_US |
Appears in Collections: | Econ-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License