Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10568
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเจริญศักดิ์ แสงฉัตรสุวรรณth_TH
dc.contributor.authorวลัยพร ธรรมชุตินันท์, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-21T07:45:29Z-
dc.date.available2023-11-21T07:45:29Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10568en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการจัดทำบัญชีครัวเรือนของบุคลากร (2) เปรียบเทียบพฤติกรรมการจัดทำบัญชีครัวเรือนของบุคลากร จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ศึกษาปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะในการจัดทำบัญชีครัวเรือนของบุคลากร การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ บุคลากรในสังกัดสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 10 จำนวน 265 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรทาโร ยามาเน่ ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 160 คน ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการเปรียบเทียบเชิงพหุคูณด้วยวิธีของแอลเอสดี ผลการศึกษา พบว่า (1) บุคลากรส่วนใหญ่จัดทำบัญชีครัวเรือนเป็นครั้งคราวและเป็นผู้จดบันทึกรายรับ-รายจ่ายด้วยตนเอง มีระยะเวลาในการจัดทำไม่เกิน 1 ปี และบันทึกบัญชีด้วยมือโดยบันทึกในช่วงเวลาที่สะดวก ส่วนใหญ่คนในครอบครัวไม่มีส่วนร่วมในการจัดทำบัญชี (2) บุคลากรที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา ประเภทของบุคลากร ระยะเวลาปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน มีพฤติกรรมการจัดทำบัญชีครัวเรือนที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) บุคลากรมีภารกิจทั้งที่ทำงานและที่บ้านต้องรับผิดชอบเป็นจำนวนมาก จึงส่งผลให้การจัดทำบัญชีครัวเรือนไม่เกิดผลสำเร็จเท่าที่ควร ผู้ศึกษาเห็นควรจัดกิจกรรมเสริมในการแลกเปลี่ยน และติดตามผลการจัดทำบัญชีในครัวเรือนของบุคลากร เพื่อเป็นการกระตุ้นและจูงใจบุคลากรในการจัดทำบัญชีครัวเรือน ต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectครัวเรือน--การบัญชี--ไทยth_TH
dc.subjectบัญชีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleพฤติกรรมการจัดทำบัญชีครัวเรือนของบุคลากรในสังกัดสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 10th_TH
dc.title.alternativeHousehold accountancy behavior of the personnel under the Cooperative Auditing Office Region 10en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study household accountancy behavior of the personnel, (2) to compare household accountancy behavior of the personnel classified by the personal factors, and (3) to study the problems, obstacles and suggestions on the household accountancy of the personnel. This study was a quantitative study. The population used in the study was the 265 personnel under the Cooperative Auditing Office Region 10. The samples are calculated using Taro Yamane’s Formula as a total of 160 samples, using simple random sampling method. A questionnaire is used as a tool for data collection. Statistics used in data analysis consist of frequency, percentage, mean, and standard deviation, T-Test, One-Way ANOVA, and Multiple Comparison using LSD Method. The results indicated that (1) most personnel periodically performed the household accountancy, recorded income-expenditure account by themselves for less than one year period of accountancy using manual bookkeeping. They performed bookkeeping in theie convenient period, without the involvement of most family members in accountancy. (2) The personnel with the different gender, age, the educational level, type of personnel, and service duration had the different household accountancy behavior at statistical significance level of 0.05.(3) The personnel had a large number of the responsible tasks both at office and at home, resulting in a failure of the household accountancy as expected. In the opinion of the researcher, the promoting activities in exchange and monitoring the household accountancy of the personnel should be organized to stimulate and motivate the personnel in the household accountancy accordingly.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.88 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons