Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10569
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีราภรณ์ สุธัมมสภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวารุณี ธรรมภิบาล, 2535--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-22T03:16:58Z-
dc.date.available2023-11-22T03:16:58Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10569-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการยอมรับการใช้แอปพลิเคชันกรุงไทยเน็กซ์ของลูกค้าธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) จังหวัดอุบลราชธานี (2) ศึกษาการตัดสินใจใช้แอปพลิเคชันกรุงไทยเน็กซ์ของลูกค้าธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) จังหวัดอุบลราชธานี (3) เปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อการยอมรับการใช้แอปพลิเคชันกรุงไทยเน็กซ์ของลูกค้าธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)จังหวัดอุบลราชธานี จำแนกตามลักษณะทางประชากร และ (4) เปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อการตัดสินใจใช้แอปพลิเคชันกรุงไทยเน็กซ์ของลูกค้าธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) จังหวัดอุบลราชธานีจำแนกตามลักษณะทางประชากร การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร ได้แก่ ผู้ใช้บริการแอปพลิเคชันกรุงไทยเน็กซ์ของธนาคารกรุงไทย จำกด (มหาชน) ในจังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 40,556 คน คำนวณขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรของ ทาโร่ ยามาเน่ ได้ 397 คน สุ่มตัวอย่างแบบเป็นชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติเชิงพรรณาที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน คือ การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการศึกษาพบว่า (1) การยอมรับการใช้แอปพลิเคชันกรุงไทยเน็กซ์ของลูกค้าธนาคารกรุงไทย จำกด (มหาชน) จังหวัดอุบลราชธานีในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีการรับรู้ประโยชน์จากการใช้งานด้วยค่าเฉลี่ยสูงที่สุด (2) การตัดสินใจใช้แอปพลิเคชันกรุงไทยเน็กซ์ของลูกค้าธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) จังหวัดอุบลราชธานีในภาพรวมอยูในระดับมาก โดยกลุ่มตัวอย่างตัดสินใจใช้แอปพลิเคชันกรุงไทยเน็กซ์เพราะช่วยให้ทำธุรกรรมทางการเงินเสียเวลาน้อยกว่าการทำธุรกรรมในช่องทางอื่นด้วยค่าเฉลี่ยสูงที่สุด โดยพฤติกรรมหลังซื้อ กลุ่มตัวอย่างจะใช้แอปพลิเคชันกรุงไทยเน็กซ์อย่างต่อเนื่องในอนาคตด้วยค่าเฉลี่ยสูงที่สุด (3) กลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะทางประชากรต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการยอมรับการใช้แอปพลิเคชันกรุงไทยเน็กซ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (4) กลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะทางประชากรต่างกันมีความคิดเห็นการตัดสินใจใช้แอปพลิเคชันกรุงไทยเน็กซ์ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยพบว่ากลุ่มตัวอย่างที่มีรายได้ต่อเดือน 10,001-20,000 บาท มีอาชีพข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ มีการยอมรับและการตัดสินใจใช้งานมากกว่ากลุ่มอาชีพอื่น ๆth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectธนาคารทางอินเทอร์เน็ต--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleความคิดเห็นต่อการใช้แอปพลิเคชันกรุงไทยเน็กซ์ของลูกค้าธนาคารกรุงไทยจำกัด (มหาชน) จังหวัดอุบลราชธานีth_TH
dc.title.alternativeOpinion towards using Krungthai NEXT application of customer of Krungthai Bank Public Company Limited in Ubon Ratchathani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the acceptance of Krungthai NEXT application from the customers of Krungthai Bank Public Company Limited in Ubon Ratchathani Province (2) to study the decision of the customers of Krungthai Bank Public Company Limited in Ubon Ratchathani Province to use Krungthai NEXT application (3) to compare the opinion of the customers toward Krungthai Bank Public Company Limited in Ubon Ratchathani Province on using Krungthai NEXT application, classified by the demographic characteristics, and (4) to compare the opinion of the customers of Krungthai Bank Public Company Limited in Ubon Ratchathani Province using Krungthai NEXT application, classified by the demographic characteristics. The population of this quantitative research consisted 40,556 customers of Krungthai Bank Public Company Limited in Ubon Ratchathani Province using Krungthai Next application. The 397 sample size was determined by using Taro Yamane formula with stratified random sampling method. A constructed questionnaire was used as an instrument in data collection. The statistical analysis employed frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and one-way ANOVA. The research resulted revealed that (1) the acceptance of Krungthai Bank Public Company Limited in Ubon Ratchathani Province customer using Krungthai Next application was overall at high level, while the recognize of benefits from using the application was at the highest (2) the decision of the customers of Krungthai Bank Public Company Limited in Ubon Ratchathani Province using Krungthai Next application was overall at the high level while the duration of transaction via application was quicker than other channels. Moreover, as for the behavior after using the application, they still used it continually in the future (3) the sample with different demographic characteristics accepted it differently, with a statistical significance at the level of 0.05, and (4) the samples with different demographic characteristics had different decision to use Krungthai Next application, with a statistical significance at the level of 0.05. Furthermore, it indicated that the sample who had monthly income between 10,001-20,000 baht, the governmental officials or the state enterprise employees accepted and had decision to use Krungthai Next application more than other professionen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.14 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons