Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1056
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทัศนา หาญพล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพวา พันธุ์เมฆา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวิลัย สตงคุณห์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพัชรี แซ่เล้า, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-26T07:07:47Z-
dc.date.available2022-08-26T07:07:47Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1056-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้และเปรียบเทียบการใช้แหล่งการเรียนรู้ ทรัพยากร สารสนเทศในห้องสมุด และปัญหาการใช้บริการสารสนเทศของห้องสมุด ของนักเรียนระดับช่วงช้ันที่ 4 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลกเขต 1 จําแนกตามขนาดของโรงเรียนและระดับชั้นเรียนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 4 ซึ่งศึกษาอยู่ในโรงเรียนรัฐบาลจํานวน 13 โรงเรียน ในสังกดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาพิษณุโลกเขต 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 จํานวน 504 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและการทดสอบความแตกต่างรายคู่โดยใช้วิธีเชฟเฟ่ผลการวิจัยพบว่า (1) นักเรียนมีการใช้แหล่งการเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียนโดยรวมอยู่ในระดับปานกลางยกเว้นที่มีการใช้ในระดับมาก คือ ห้องคอมพิวเตอร์ และห้องสมุดโรงเรียน และนกเรียนที่ศึกษาในโรงเรียนขนาดต่างกันมีการใช้แหล่งการเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียนโดยรวมและรายข้อทุกข้อแตกต่างกัน ด้านการใช้ทรัพยากรสารสนเทศโดยรวมอยู่ในระดับปานกลางเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่ามีการใช้ใน ระดับมาก 3 ลําดับแรก คือ แผ่นวีซีดีหรือแผ่นดีวีดีภาพยนตร์ แผ่นซีดีเพลงและ หนังสือแบบเรียน และด้านปัญหา การใช้บริการสารสนเทศของห้องสมุดโรงเรียนโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยนักเรียนที่ศึกษาในโรงเรียนที่ ต่างขนาดกัน และระดับชั้นต่างกันประสบปัญหาการใช้บริการสารสนเทศของห้องสมุดโดยรวมทั้งหมดแตกต่าง กัน (2) ผลการเปรียบเทียบการใช้แหล่งการเรียนรู้การใช้ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด และปัญหาการใช้ บริการสารสนเทศของห้องสมุด ของนกเรียนระดับช่วงชั้นที่ 4 จําแนกตามขนาดของโรงเรียนและระดับชั้นเรียน พบว่านักเรียนที่ศึกษาในโรงเรียนต่างขนาดกันมีการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน การใช้ทรัพยากร ในห้องสมุดและประสบปัญหาในการใช้บริการสารสนเทศของห้องสมุดแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยที่นักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก/กลางมีการใช้แหล่งเรียนรู้มีการใช้ทรัพยากรในห้องสมุดและประสบ ปัญหาการใช้บริการสารสนเทศของห้องสมุดโรงเรียนมากกว่านักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่และขนาดใหญ่ พิเศษ ส่วนนักเรียนที่ศึกษาอยู่ในโรงเรียนขนาดใหญ่มีการใช้ทรัพยากรในห้องสมุดและประสบปัญหาในการใช้ บริการสารสนเทศของห้องสมุดมากกว่านักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ ส่วนนักเรียนที่ศึกษาในระดับชั้น เรียนต่างกันประสบปัญหาการใช้ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดโรงเรียนโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 โดยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ประสบปัญหามากกว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectแหล่งสารสนเทศ--การศึกษาการใช้th_TH
dc.titleการใช้แหล่งการเรียนรู้ของนักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 4 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลก เขต 1th_TH
dc.title.alternativeThe use of learning resources by the fourth level students of the school under Phitsanulok Educational Service Area Office 1th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to study and compare the use of learning resources, school library resources, and the problems on the use of information resources of the school library by the fourth-level secondary school students under the Phitsanulok Educational Service Area Office classified by school size and class levels. The samples were 504 fourth-level secondary school students (Grades 4-6) who studied in the first semester of the 2011 academic year from 13 public schools under the office of Phitsanulok Educational Service Area Office 1. The research tool was a questionnaire. The statistics used for data analysis were percentage, means, standard deviation, one-way ANOVA and Scheffe’s pairwise comparison method. The research findings were that (1) the students used school learning resources overall at a moderate level, excepting 2 items that were used at a high level. These were the computer room and school library respectively. Students who studied in different school sizes used school learning resources and community learning resources differently, both overall and in each item. Regarding information resources, the students used them overall at a moderate level. Considering each item, it was found that the first three types that were used at a high level were VCD or DVD movies, musical CDs and text-books respectively. Regarding the problems in using school library information services, they were used overall at a moderate level. Students who studied in different school sizes and different class levels found the problems in using information resources in the school library overall differently. (2) The results of the comparison of school learning resources, information resources in the library and problems in using school library information resources by the fourth-level secondary school students classified by school sizes and class levels found that students who studied in different school sizes used both school learning resources and community learning resources, school library resources and faced the problems on the use of information resources of the school library significantly different at .05. Students in small/medium school sizes used learning resources both in school and community, used school library resources and faced the problems on the use of information resources of the school library much more than large and extra large school sizes. But students in large school sizes used the school library resources and faced the problems on the use of information resources of the school library much more than extra large school sizes. Students who studied in different class levels faced the problems in using school library information resources overall significantly different at .05. Mathayomsuksa 4 students faced the problems much more than Mathayomsuksa 6 studentsen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (21).pdfเอกสารฉบับเต็ม16.08 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons