Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10576
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชัญญา คลองแห้ง, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-22T06:31:49Z-
dc.date.available2023-11-22T06:31:49Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10576-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความเครียดของเจ้าหน้าที่ศาลยุติธรรม (2) ศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดของเจ้าหน้าที่ศาลยุติธรรมสังกัดภาค 3 (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดในการปฏิบัติงาน และ (4) เสนอแนะแนวทางลดความเครียด ในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ศาลยุติธรรมสังกัดภาค 3 การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่นำมาใช้ในการศึกษา ได้แก่ เจ้าพนักงานศาลยุติธรรมของศาลจังหวัดและศาลแขวงในสังกัดภาค 3 จำนวน 182 คน โดยศึกษาจากประชากรทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ข้าราชการศาลยุติธรรมมีระดับความเครียดในภาพรวมในระดับ น้อยที่สุด (2) ปัจจัยทุกด้าน คือ ด้านลักษณะงาน ด้านบทบาทหน้าที่ ด้านความก้าวหน้าในอาชีพ ด้านโครงสร้างและบรรยากาศขององค์การ ด้านสัมพันธภาพในที่ทำงาน และด้านผลสัมฤทธิ์ในการทำงาน อยู่ในระดับน้อยที่สุด (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดในการปฏิบัติงาน พบว่า ปัจจัยด้านบทบาทหน้าที่ ด้านสัมพันธภาพในที่ทำงาน ด้านผลสัมฤทธิ์ในการทำงาน ด้านลักษณะงาน ความสำเร็จและก้าวหน้าในอาชีพ ด้านโครงสร้างและบรรยากาศขององค์การมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับต่ำ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (4) ข้อเสนอแนะแนวทางลดความเครียดในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ศาลยุติธรรมสังกัดภาค 3 คือ ควรส่งเสริมการทำงานร่วมกัน จัดให้มีกิจกรรมสันทนาการ การออกกำลังกาย หรือทำกิจกรรมร่วมกัน เพื่อให้มีโอกาสปฏิสัมพันธ์อย่างสม่ำเสมอth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความเครียดในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเครียดในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ศาลยุติธรรมสังกัดภาค 3th_TH
dc.title.alternativeFactors associated with operational stress of the Court of Justice under Region 3en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the stress level of personnel of the Court of Justice under Region 3 (2) to study factors associated with operational stress of the Court of Justice under Region 3 (3) to study the relationship between factors and operational stress of the stress of the Court of Justice under Region 3, and (4) to recommend for the reduction guidelines of operational stress of the Court of Justice under Region 3. This study was a survey research. The population for this study was done with all of the personnel of the Court of Justice under Region 3, totally 182 officials. Research instrument was a questionnaire. The statistics for data analysis used frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson's correlation coefficient. The findings of this study revealed that (1) an overview of stress level of personnel of the Court of Justice under Region 3 was at the lowest level (2) factors associated with operational stress of the Court of Justice under Region 3 were work characteristics, roles, career advancement, organization structure and atmosphere, relationship among officials (3) the relationship between factors such as work characteristics, roles, career advancement, organization structure and atmosphere, relationship among officials and operational stress of the stress of the Court of Justice under Region 3 was found in positive way at low level at statistically significant at 0.05 level, and (4) recommend for the reduction guidelines of operational stress of the Court of Justice under Region 3 were that there should promote mutual cooperation by organizing the mutual recreation activities, exercising to increase the opportunities of interactionen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.19 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons