Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10578
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเรวดี จรุงรัตนาพงศ์th_TH
dc.contributor.authorธาริกา เกิดสุข, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-22T07:17:42Z-
dc.date.available2023-11-22T07:17:42Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10578en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการแยกขยะมูลฝอยของครัวเรือนเทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และ 2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการแยกขยะมูลฝอยของครัวเรือนเทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์เป็นข้อมูลจากการสำรวจครัวเรือนแบบง่าย จำนวน 400 ครัวเรือน เพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการวิเคราะห์พฤติกรรมการแยกขยะของครัวเรือน และปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการคัดแยกขยะของครัวเรือนในเขตเทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาใช้สถิติเบื้องต้นและการวิเคราะห์สมการถดถอยด้วยแบบจำลองโลจิตในการหาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการแยกขยะในครัวเรือน ผลการวิจัยพบว่า (1) ครัวเรือนที่เป็นกลุ่มตัวอย่างมีรายได้ครัวเรือนเฉลี่ย 17,638 บาทต่อครัวเรือน และ ในกลุ่มตัวอย่างดังกล่าวส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 62.50 มีการแยกขยะ โดยในกลุ่มครัวเรือนนี้มีการแยกขยะทุกครั้งประมาณร้อยละ 31.60 ทั้งนี้รายได้เฉลี่ยจากการขายขยะมีค่าประมาณ 76.33 บาทต่อเดือนต่อครัวเรือน อย่างไรก็ตาม เหตุผลที่ครัวเรือนส่วนใหญ่ซึ่งมีประมาณร้อยละ 34.75 ไม่แยกขยะเป็นเพราะไม่มีถังขยะแยกประเภทขยะ และ (2) ปัจจัยที่มีนัยสำคัญต่อการแยกขยะของครัวเรือน ได้แก่ ปัจจัยที่ส่งผลบวกต่อการแยกขยะครัวเรือน ณ ระดับนัยสำคัญ 0.01 ได้แก่ รายได้จากการแยกขยะ ระดับการศึกษา และทัศนคติที่มองว่าทุกคนมีหน้าที่ที่ต้องแยกขยะก่อนทิ้ง ปัจจัยอื่นที่มีผลต่อการแยกขยะของครัวเรือนในทางบวก ณ ระดับนัยสำคัญ 0.05 และ 0.10 ได้แก่ อายุ และการที่มีทัศนคติว่าเพื่อนบ้านมีส่วนส่งเสริมทำให้ครัวเรือนมีการแยกขยะมากขึ้น จากผลการศึกษาดังกล่าวชี้ให้เห็นว่า ราคารับซื้อขยะเป็นแรงจูงใจที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการแยกขยะครัวเรือนอย่างมีนัยสำคัญ ดังนั้น ภาครัฐที่เกี่ยวข้องควรเข้ามาดูแลไม่ให้ราคารับซื้อขยะมีราคาต่ำเกินไป เช่น การห้ามนำเข้าขยะจากต่างประเทศอย่างที่ผ่านมา เพราะส่งผลต่อราคารับซื้อขยะภายในประเทศให้ลดลงในที่สุด เป็นต้น นอกจากนี้ จากการที่ครัวเรือนส่วนใหญ่เห็นด้วยเกี่ยวกับการจัดเก็บค่าขยะจากน้ำหนักของขยะถือเป็นสัญญาณที่ดีที่ภาครัฐควรพิจารณาทางเลือกนี้อีกทางเลือกหนึ่งและศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้มาตรการดังกล่าวในอนาคตth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการคัดแยกขยะ--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการแยกขยะในครัวเรือน : กรณีศึกษาเทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์th_TH
dc.title.alternativeFactors that determine household waste separation behavior: a case study of Prachuap Khiri Khan municipality, Prachuap Khiri Khan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are to 1) examine household waste separation behavior in Prachuap Khiri Khan municipality, Prachuap Khiri Khan province and 2) investigate factors affecting household waste separation behavior in Prachuap Khiri Khan municipality, Prachuap Khiri Khan province. The data employed in this research are collected using a simple sampling method of the 400 households to analyze their waste separation behavior and factors affecting such behavior in Prachuap Khiri Khan municipality, Prachuap Khiri Khan province. The analysis was conducted using descriptive statistics and Logit regression to find factors affecting household waste separation behavior. The findings show that (1) the average household income of this sample is approximately 17,638 baht. Most of the households in the study (62.50%) segregated their waste. Especially, 31.60% of the households in this group always separate their waste. Households who separate their waste earned approximately 76.33 baht per month for selling the different types of waste. However, the reason why most households (34.75%) did not separate their waste was that they did not have separation recycle bins. (2) Factors positively significantly affecting waste separation behavior of the households who always separate their waste at 0.01 significance level include the revenue from segregating the waste, education level, and the attitude that everyone is responsible for separating their waste before disposing of. Other positive factors influencing household waste separation behavior at 0.05 and 0.10 significance level are, respectively, age and the attitude that neighbor is a source that partially promotes more waste separation in households. The findings indicate that prices of recycled waste are a significant incentive that affects household waste separation behavior. Therefore, the related government agencies should make sure that the price of recycled waste is not too low by, for instance, The government should ban imported wastes from abroad because it makes the prices of recycled waste decrease. Besides, as most households agreed with being charged a waste collection fee by weights, which is a good sign, the government should consider this option and study the possibility of adopting this measure in the futureen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons