Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1058
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมโภช รติโอฬาร | th_TH |
dc.contributor.author | รติวัน พิสัยพันธ์ 2512- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-26T07:12:39Z | - |
dc.date.available | 2022-08-26T07:12:39Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1058 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) รูปแบบการบริหารงานศูนย์สุขภาพชุมชน จังหวัด หนองคาย ตามแนวคิด 7-S ของแมคคินซีย์ (2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้บริหารสาธารณสุขและผู้บริหารศูนย์สุขภาพชุมชนต่อการพัฒนาการบริหารงานศูนย์สุขภาพชุมชน (3) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารสาธารณสุขและผู้บริหารศูนย์สุขภาพชุมชนต่อการพัฒนาการบริหารงานศูนย์สุขภาพชุมชน (4) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค วิธีการแก้ไขปัญหาการบริหารงานศูนย์สุขภาพชุมชน (5) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหารงานศูนย์สุขภาพชุมชน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารสาธารณสุขและผู้บริหารศูนย์สุขภาพชุมชนในจังหวัดหนองคาย ประกอบด้วยผู้บริหารสาธารณสุขจํานวน 34 คน ผู้บริหารศูนย์สุขภาพชุมชน จำนวน 75 คน รวมทั้งสิ้น 109 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ผู้วิจัยสร้างขึ้นเองโดยมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.81 สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์เนื้อหา สถิติทดสอบที (t-test) สถิติแบบแมนวิทนีย์ (Mann-Whitney Utest) ผลการวิจัย พบว่า (1) ศูนย์สุขภาพชุมชน มีการจัดโครงสร้างบริการชัดเจน โดยสายการบริการขึ้นตรงต่อหน่วยคู่สัญญาบริการปฐมภูมิ มีการจัดทำแผนปฏิบัติการ โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากแฟ้มประวัติครอบครัว งานตามนโยบาย ให้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของหน่วยสัญญาบริการปฐมภูมิ ระบบการทำงานไม่มีความคล่องตัว ขาดงบประมาณในการดำเนินงาน ระบบข้อมูลขาดความต่อเนื่อง ขาดแคลนบุคลากรที่ปฏิบัติงานในศูนย์สุขภาพชุมชน ผู้บริหารศูนย์สุขภาพชุมชนมีการร่วมดำเนินการและแก้ไขปัญหาร่วมกับผู้ปฏิบัติงาน และกำหนดค่านิยมร่วมกัน โดยสมาชิกภายในศูนย์สุขภาพชุมชน (2) ผู้บริหารสาธารณสุขและผู้บริหารศูนย์สุขภาพชุมชนมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาการบริหารงานศูนย์สุขภาพชุมชนโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (3) ผู้บริหาร สาธารณสุขและผู้บริหารศูนย์สุขภาพชุมชนมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาการบริหารงานศูนย์สุขภาพชุมชนไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4) โครงสร้างการบริหารงานศูนย์สุขภาพชุมชนไม่ชัดเจนการวางแผนมุ่งเน้นการดำเนินงานตามนโยบาย การจัดระบบงานไม่ชัดเจนขาดการบูรณาการงานร่วมกันของสถานีอนามัยเครือข่าย สัดส่วนบุคลากรสาธารณสุขต่อประชากร ไม่เป็นไปตามมาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชนหัวหน้าศูนย์สุขภาพชุมชนไม่มีบทบาทในการบริหารงาน บุคลากรขาดทักษะการทํางานเป็นทีมและขาดค่านิยมร่วมในการปฏิบัติงาน (5) ผู้บริหารต้องให้ความสําคัญและกําหนดเป็นนโยบายการพัฒนามาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน จัดโครงสร้างบริหารศูนย์สุขภาพชุมชนให้ชัดเจน กระจายบุคลากรโดยใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ รวมทั้งมีการติดตามประเมินผลการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.175 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ศูนย์สุขภาพชุมชนจังหวัดหนองคาย | th_TH |
dc.subject | การบริหารสาธารณสุข--ไทย--หนองคาย | th_TH |
dc.title | รูปแบบและการพัฒนาการบริหารงานศูนย์สุขภาพชุมชน จังหวัดหนองคาย | th_TH |
dc.title.alternative | he model and management development of primary care units in Nongkhai province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2003.175 | - |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารสาธารณสุข) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were (1) to study administrative model of primary care units (PCUs) in Nongkhai Province according to Mckinsey’s 7S model; (2) to study the opinions of the public health administrators and those of the PCUs administrators concerning management development for PCUs; (3) to compare the opinions of the public health administrators group with those of the PCUs administrators group concerning management development of PCUs; (4) to explore problems and obstacles about management development for PCUs; (5) to identify recommendations about management development for PCUs. The total of 109 samples comprised 34 public health administrators and 75 PCUs administrators. The research instrument used was an interview questionnaire which was pre-tested for their reliability with Conbrach’s Alpha Coefficient of 0.81. Statistical techniques utilized in data analysis were percentage, mean, standard deviation, content analysis, t - test and Mann - Whitney - Test. The findings were as follows: (1) The structure of PCUs for service provision was definitive and reported directly to their respective contracting unit for primary care (CUP); the PCUs formulated their action plans by analysing clients' family folders and policy according to strategic plan of CUP; the PCUs work system was not flexible, short on the budget; the information system was interrupted; there was insufficient manpower; the PCUs administrators participated in the operations, solved problems, and determined work values together with PCUs staff. (2) The opinions of the public health administrators and PCUs administrators were at high levels. (3) The opinions of the public health administrators and PCUs administrators were not statistically different at significant level of 0.05. (4) Problems were found to be those of unclear administrative structure of PCUs; their work procedures were not integrated among health centers within the respective network; inadequate proportion of staffing according to standard; lack of teamwork skills and shared work values among staff. (5) Administrators must give priority and set policy for the development of PCUs standard; set the administrative structure of the PCUs clearly; distribute staff using geographic information system; and conduct follow-ups and evaluation continuously | en_US |
dc.contributor.coadvisor | คนองยุทธ กาญจนกูล | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License