Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10604
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพาณี สีตกะลิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorขัติญพัณศ์ อเล็กซีส กฏอัศญทีปณ์, 2530--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2023-11-30T06:35:49Z-
dc.date.available2023-11-30T06:35:49Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10604-
dc.description.abstractการศึกษาการพัฒนารูปแบบคุณลักษณะผู้นำด้านสุขภาพชุมชนของระบบสุขภาพระดับตำบลโดยคลินิกหมอครอบครัวคือการศึกษาเชิงปฏิบัติการใน 1 กลุ่มและทำการทดสอบก่อนและหลัง มีวัตถุประสงค์ (1) ศึกษารูปแบบคุณลักษณะผู้นำสุขภาพด้านชุมชน (2) พัฒนารูปแบบคุณลักษณะผู้นำสุขภาพชุมชน (3) เปรียบเทียบรูปแบบคุณลักษณะผู้นำสุขภาพชุมชนก่อนและหลังพัฒนา ประชากรที่ศึกษาคือผู้นำด้านสุขภาพชุมชนระบบสุขภาพระดับตำบล ในตำบลเมืองปักและ ธงชัยเหนือ อำเภอปักธงชัย มีผู้นําด้านสุขภาพชุมชนจํานวน 308 คน จากการศึกษาและสุ่มตัวอย่างแบบเป็นลำดับชั้นตามสัดส่วนของประชากร จํานวน 150 คน แต่เข้าร่วม 14 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ (1) แบบสอบถามคุณลักษณะผู้นำด้านสุขภาพชุมชนระดับตำบล (2) โปรแกรมการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์คุณลักษณะผู้นำ ใน 9 กิจกรรมตามมิติการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและรักษาเบื้องต้น ครอบคลุม 5 กลุ่มวัยโดยคลินิกหมอครอบครัว แบบสอบถามมีความเชื่อมั่นที่ 0.86 สถิติในการศึกษาคือการทดสอบระหว่างค่ากลางประชากร 2 กลุ่มที่มีการกระจาย 2 กลุ่มที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน ผลการศึกษาพบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 87.2) อายุเฉลี่ย 55.8 ปี (1) ก่อนการพัฒนารูปแบบคุณลักษณะผู้นำด้านการทำงานเป็นทีม การมีส่วนร่วม การเกิดคุณค่าในผู้ให้บริการ และการตอบสนองชุมชนอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนคุณลักษณะด้านการแบ่งปันทรัพยากรอยู่ในระดับต่ำ (2) หลังการพัฒนาพบว่าคุณลักษณะผู้นำด้านการเกิดคุณค่าในผู้ให้บริการอยู่ในระดับสูง ยกเว้นการทํางานเป็นทีม การมีส่วนร่วม และการตอบสนองความต้องการชุมชนอยู่ในระดับปานกลาง (3) ผลการเปรียบเทียบพบว่าเมื่อพัฒนารูปแบบคุณลักษณะผู้นําด้านสุขภาพชุมชนโดยใช้โปรแกรมการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์แล้วคุณลักษณะการเกิดคุณค่าในผู้ให้บริการเพิ่มขึ้นในระดับสูง และในภาพรวมทุกด้านมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) โดยคลินิกหมอครอบครัวth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำชุมชน--แง่การแพทย์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารสาธารณสุขth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบคุณลักษณะผู้นำด้านสุขภาพชุมชนของระบบสุขภาพระดับตำบลโดยคลินิกหมอครอบครัวth_TH
dc.title.alternativeThe development of characteristic community’s leader of health by primary care clusteren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeA study of model development for characteristic community’s leader of health (CCLH) in sub district by primary care cluster (PCC), this is action research in a single group with pretest and posttest. Object to (1) study model for CCLH (2) Development model for CCLH (3) compare CCLH level between before and after implementation developed model. Population was community leader in subdistrict from Meangpak and Thingchainuea in Pakthongchai, Nakhonrachasima, recruited 308 participants. The study was stratified random sampling proportional to size for 150 samples, and completed follow-up 141 participants. Study tools (1) CCLH assessment questionnaire (2) Paradigm shifting program for community leaders by 9 activities in dimension of health promotion, prevention, and treatment. This covered 5 age-groups by primary care cluster. The questionnaire’s reliability was 0.86. Data analyzed by paired T-test. The study found the most of community leaders is female (87.2%), average age was 55.8 year-old (1) before model development found moderate CCLH level in aspect of teamwork, participation, appreciation and essential care, but resource sharing was low. (2) After model implementation found high CCLH level for appreciation, another was in moderate level. (3) Comparison of CCLH level due to paradigm shifting program by PCC found CCLH increased in all aspects by statistic significant (p<0.001)en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168962.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.54 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons