Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10614
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกุลธิดา บรรจงศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอนุวัฒน์ ด้วงยิ้ม, 2532--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2023-11-30T07:42:31Z-
dc.date.available2023-11-30T07:42:31Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10614-
dc.description.abstractพลังงานมีความสำคัญ และจำเป็นต่อการดำรงชีวิต เนื่องจากพลังงานเป็นปัจจัยพื้นฐานในการสร้างความสะดวกสบายในการดำเนินชีวิตประจำวัน ประเทศไทยได้มีการสนับสนุนและส่งเสริมในเรื่องการใช้พลังงานทดแทน โดยเฉพาะในการผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ อย่างไรก็ตามประเทศไทยกำลังจะต้องพบกับประเด็นปัญหาการจัดการหรือการกำจัดซากขยะแผงโซลาร์เซลล์ ซึ่งคาดว่าภายในปี พ.ศ. 2531 จะมีปริมาณสูงถึง 122,408 ตัน ซึ่งหากไม่มีการจัดการที่เหมาะสม จะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การศึกษาค้นคว้าอิสระในครั้งนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำคู่มือการจัดการรีไซเคิลแผงโซลาร์เซลล์ที่หมดอายุ หรือเสื่อมสภาพ สําหรับผู้ที่ต้องการจะศึกษา หรือผู้ที่มีความสนใจเกี่ยวกับการจัดการรีไซเคิลแผงเซลล์แสงอาทิตย์หรือแผงโซลาร์เซลล์ วิธีการจัดทําคู่มือ ได้จากการทบทวนค้นคว้าข้อมูลเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กระบวนการผลิต การใช้งาน และการจัดการรีไซเคิลแผงโซลาร์เซลล์ โดยมีการตรวจสอบเนื้อหาของคู่มือโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และนำไปปรับแก้เพื่อความเหมาะสมกับการใช้งานคู่มือ ผลการศึกษาพบว่า คู่มือการจัดการรีไซเคิลแผงโซลาร์เซลล์ที่หมดอายุ หรือเสื่อมสภาพ ประกอบด้วยเนื้อหา 4 บท ได้แก่ บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับโซลาร์เซลล์ บทที่ 2 กระบวนการผลิตแผงโซลาร์เซลล์ บทที่ 3 การใช้งานแผงโซลาร์เซลล์ และบทที่ 4 การจัดการรีไซเคิลแผงโซลาร์เซลล์ที่หมดอายุ หรือเสื่อมสภาพ ผลการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิมีความคิดเห็นว่าคู่มือสามารถนำไปใช้ปฏิบัติได้มากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectแผงรวมแสงอาทิตย์--การนำกลับมาใช้ใหม่th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรมth_TH
dc.titleคู่มือการจัดการรีไซเคิลแผงโซลาร์เซลล์ที่หมดอายุ หรือเสื่อมสภาพth_TH
dc.title.alternativeManual on recycling management of expired or deteriorated solar panelen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeEnergy plays an essential role for human life because it is the most important factor in creating comfort in daily life. Thailand has supported and promoted the use of renewable energy, particularly solar energy. On the other hand, the country is dealing with issues related to the management and disposal of solar panel waste. It is estimated that there will be a total of 122,408 tons of solar panel waste by 2038. Lack of proper management of solar panel waste will adversely affect the environment. The objective of this study was to prepare a manual on recycling management of expired or deteriorating solar panels. The findings of the study would be beneficial for those who either want to study this topic or are interested in managing the recycling of such solar panels. The manual was prepared based on a review of relevant documents, research papers, production process, use and recycling management of old solar panels. The content of the draft manual was validated by experts, whose comments were used in finalizing the manual for it to be suitable for further use. The findings indicated that the manual contains four chapters: Chapter 1 Introduction to Solar Cells; Chapter 2 Solar Panel Manufacturing; Chapter 3 Using Solar Panels; and Chapter 4 Recycling Management of Expired or Deteriorated Solar Panels. Based on the experts’ opinions, the manual could be practically applied at the highest levelen_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168966.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.64 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons