Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10638
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพลสราญ สราญรมย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุธาทิพย์ คำเกิด, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-04T02:29:11Z-
dc.date.available2023-12-04T02:29:11Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10638-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมการเกษตร))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประ สงค์เพื่อศึกษา 1) ลักษณะส่วนบุคคล เศรษฐกิจและสังคม ของเกษตรกร 2) ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการตัดสินใจปลูกทุเรียนของเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียน ) สภาพการปลูกทุเรียนของเกษตรกร 4) ความรู้เกี่ยวกับการปลูกทุเรียนของเกษตรกร 5) ปัญหาข้อเสนอแนะและแนวทางการส่งเสริมการผลิตทุเรียนของเกษตรกร ประชากรที่ศึกษา ได้แก่ เกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนในพื้นที่ตำบลคู้ยายหมื อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา ในปี 2563 จำนวน 134 รายศึกษาจากทั้งหมด 2) นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรอำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 6 ราย เครื่องมือที่ใช้คือแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่เฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการจัดอันดับ ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรอายุเฉลี่ย 55.53 ปี จำนวนต้นในพื้นที่ปลูกทุเรียนเฉถี่ย 28.56 ต้น ได้รับข้อมูลข่าวสารและจากสื่อมวลชนในระดับมาก ต้นทุนการปลูกทุเรียนเฉลี่ย 25,089.39 บาท/ปี และปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 115.14 กิโลกรัมต่อต้น 2) เกษตรกรมีความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องต่อการตัดสินใจปลูกทุเรียนของเกษตรกรว่าด้านสังคมเป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการตัดสินใจปลูกทุเรียนในระดับมากที่สุด ส่วนด้านกายภาพและด้านเศรษฐกิจเป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการตัดสินใจปลูกทุเรียนในระดับมาก 3 เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีการปรับพื้นที่เพื่อวางผังปลูก ไม่วัดค่าความเป็นกรดเป็นด่าง สภาพพื้นที่ก่อนปลูกทุเรียนเป็นพื้นที่ ว่างเปล่าและปลูกแซมพืชเดิม ปลูกฤดูฝนและให้น้ำแบบสปริงเกอร์ 4) เกษตรกรร้อยละ 50.7 ขาดความรู้ว่าทุเรียนพันธุ์หมอนทองเป็นพันธุ์ที่ทนทานต่อโรครากเน่า โคนเน่า และร้อยละ 64.2 ขาดความรู้การกำจัดวัชพืชในทุเรียนระยะต้นกล้าสามารถใช้สารเดมีกำจัดวัชพืชได้ 5) เกษตรกรพบปัญหาระดับปานกลาง ในประเด็นไม่มีประสบการณ์แบบอย่างจากเกษตรกรที่เคยปลูกมาแล้วและมีข้อเสนอแนะการปลูกทุเรียนในระดับมาก ได้แก่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจัดให้มีการศึกษาดูงานเกี่ยวกับการปลูก ดูแลรักษาทุเรียน เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรควรให้ข้อมูลเทคนิคในการปลูกทุเรียนเพิ่มมากขึ้น และหน่วยงานที่เกี่ยวของควรจัดให้มีการอบรมถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการปลูกทุเรียนเพื่อให้เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับปลูกทุเรียนและการวงแผนการผลิตให้ได้คุณภาพ แนวทางการส่งสริมการผลิตทุเรียนของเกษตรกร ได้แก่ การส่งเสริมการปลูกทุเรียนคุณภาพและปลอดภัย การถ่ายทอดความรู้ การรวมกลุ่มของเกษตรกรและส่งเสริมการสร้างอัลักษณ์และภูมิปัญญาในการปลูกทุเรียนของชุมชนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectทุเรียน--การปลูกth_TH
dc.subjectการปลูกพืชth_TH
dc.subjectการส่งเสริมการเกษตร--แง่เศรษฐกิจ--ไทยth_TH
dc.titleการส่งเสริมการทำสวนทุเรียนของเกษตรกรในตำบลคู้ยายหมีอำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทราth_TH
dc.title.alternativeExtension of durian plantation of farmers in Kuyaymee sub-district, Sanam Chai Khet district, Chachoengsao Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) personal characteristics , economic and social condition of farmers, 2) factors relating to the decision in durian production of durian production farmers, 3) durian production conditions of farmers, 4) knowledge regarding durian production of farmers, 5) problems suggestions and extension guideline of durian production of farmers. The population of this study were 1) the entire 134 durian production farmers in Khuyaimee sub-district, Sanam Chai Khet district, Chachoengsao province, in 2020, and 2)the entire 6 agricultural extension officers from Sanam Chai Khet district agricultural office in Chachoengsao province. The tool used was interview form. The data were analyzed by using descriptive statistics including frequency, percentage, minimum, maximum, mean and standard deviation and ranking . The results showed that 1) the farmers had an average age of 55.53 years, and the number of plants in the durian planting area was 28.56 on average and received information from mass medias at the high level .The average cost of durian cultivation was 25,089.89 baht / year and the average yield was 115.14 kg /plant. 2) Opinions toward factors related to farmers' decision to plant durian, it was found that social aspect was the factor most related to farmers ‘ decision to plant durian at the highest level while physical and economic aspects were at a high level. 3) Most farmers did not either leveling the cultivated area for planting nor measure pH.of soil The land condition prior to durian plantation was an empty land and the farmers grew durian in between the already existed plants. They grew durian during rainy season and used sprinklers as the form of watering system. 4) 50.7% of farmers Lack of knowledge on the issues of ; Monthong durian was resistant to root rot (Phytopthora rot ) and 64.2% lacked of knowledge on weeding issues that herbicides can be used in seedling stage. 5) Farmers encountered with the cultivation problem at the moderate level on the issues of lack of experience/role model from experienced farmers .They had suggestions on durian cultivation at high level on the issues of ; related agencies should provide a study visit on durian planting and maintenance. agriculture extension officers should provide more information on techniques for growing durian and related agencies should provide training and transfer knowledge on durian cultivation so that farmers have knowledge about durian planting and production planning for quality. Extension guideline in durian plantation included the quality and safety durian production extension, the knowledge transfer, the farmer group formation, and the creation of identity and wisdom in durian production of the community.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.04 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons