Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10654
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณ์ดี แสงประทีปทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบุษกร ปุยสำลี, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-12-04T05:48:20Z-
dc.date.available2023-12-04T05:48:20Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10654-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสุดใจวิทยา กรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับความพร้อมด้านปัจจัยเบื้องต้นของหลักสูตรสถานศึกษา ความเหมาะสมด้านกระบวนการใช้หลักสูตรสถานศึกษา และผลผลิตของหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 2 คน ครูผู้สอนหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ครูวิชาการ และหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จำนวน 5 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 87 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นอย่างเป็นสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม 2 ฉบับ ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับผู้ปกครองและครู จำนวน 1 ฉบับ สำหรับนักเรียน จำนวน 1 ฉบับ และแบบบันทึกข้อมูล 1 ฉบับ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ด้านปัจจัยเบื้องต้นของหลักสูตร ได้แก่ ครูผู้สอน สื่อและแหล่งเรียนรู้ และงบประมาณมีความพร้อมในระดับมากผ่านเกณฑ์การประเมินทุกด้าน (2) ด้านกระบวนการใช้หลักสูตร ได้แก่ การบริหารหลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผล มีความเหมาะสมในระดับมากผ่านเกณฑ์การประเมินทุกด้าน และ (3) ด้านผลผลิตของหลักสูตร ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่านคิดวิเคราะห์ และเขียน และการประเมินระดับชาติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทุกด้านผ่านเกณฑ์การประเมินth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภาษาไทย--หลักสูตร--การประเมินth_TH
dc.subjectการประเมินหลักสูตร--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การวัดและประเมินผลการศึกษาth_TH
dc.titleการประเมินหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสุดใจวิทยา กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeAn evaluation of school-based curriculum in Thai Language Learning Area at the lower secondary level of Sudjai Wittaya School in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to evaluate school-based curriculum in the Thai Language Learning Area at the lower secondary level of Sudjai Wittaya School in Bangkok Metropolis, which included evaluation of readiness of the input factors, evaluation of appropriateness of the curriculum implementation process, and evaluation of the outputs of the school-based curriculum. The research sample of informants consisted of two school administrators; five teachers including Thai Language Learning Area teachers, academic teachers, and the head of Thai Language Learning Area, all of which were purposively selected; and 87 lower secondary students obtained by proportionate stratified random sampling. The employed research instruments were two questionnaires on school-based curriculum in the Thai Language Learning Area, one of which for the teachers and parents and the other for the students, and a data recording form. Data were analyzed using the percentage, mean, standard deviation, and content analysis. Research findings showed that (1) regarding evaluation of readiness of the input factors which included the teachers, instructional media and learning sources, and budget, all of them were found to have readiness at the high level and passed the evaluation criteria; (2) regarding evaluation of appropriateness of the curriculum implementation process which included the curriculum management, the organization of instructional activities, and measurement and evaluation, all of them were found to be appropriate at the high level and passed the evaluation criteria; and (3) regarding evaluation of the outputs of the school-based curriculum which included students’ learning achievement, desirable characteristics, reading, analytical thinking and writing, and national evaluation results at the Mathayom Suksa III level, all of them were found to pass the evaluation criteria.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161901.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.88 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons