Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10660
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนราธิป ศรีราม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอรุณี เครือระยา, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-12-04T06:50:45Z-
dc.date.available2023-12-04T06:50:45Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10660-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของเทศบาลตำบลหลวงเหนืออำเภองาว จังหวัดลำปาง (2) ศึกษาปัญหาและสาเหตุของปัญหาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของเทศบาลตำบลหลวงเหนือ อำเภองาว จังหวัดลำปาง และ (3) เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของเทศบาลตำบลหลวงเหนือ อำเภองาว จังหวัดลำปาง การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพประชากร คือ ผู้บริหาร และพนักงานสังกัดเทศบาลตำบลหลวงเหนือ จำนวนทั้งหมด 47 คน โดยศึกษาจากประชากรทั้งหมด เครื่องมือในการศึกษา ได้แก่ แบบสำรวจเอกสารและแบบสัมภาษณ์เชิงลึก การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการจำแนกและจัดระบบข้อมูลการวิเคราะห์สาเหตุและผลการวิเคราะห์เนื้อหาและการวิเคราะห์สรุปอุปนัย ผลการศึกษาพบว่า (1) การบริหารทรัพยากรมนุษย์ โดยภาพรวมของเทศบาลตำบลหลวงเหนือเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่กำหนดโดยรัฐบาลและราชการส่วนกลาง ซึ่งยังไม่สอดคล้องกับหลักความเป็นอิสระในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของท้องถิ่น (2) ปัญหาสำคัญในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของเทศบาล คือ ปัญหาการขาดความอิสระในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ปัญหาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่ยังไม่สอดคล้องกับระบบคุณธรรม ปัญหาการขาดแคลนอัตรากำลังและโอกาสทางก้าวหน้าที่จำกัด สาเหตุสำคัญของปัญหา คือ การกระจายอำนาจในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังมีอยู่อย่างจำกัด กลไกทั้งภายในและภายนอกเกี่ยวกับการบริหารและควบคุมตรวจสอบการดำเนินงานตามระบบคุณธรรมขาดประสิทธิภาพ (3) แนวทางการแก้ไขปัญหาและพัฒนาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่สำคัญ คือ ผู้บริหารเทศบาลต้องตระหนักถึงการบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามระบบคุณธรรม และให้ความสำคัญการสร้างพลเมืองที่ตื่นตัวที่มีความรับผิดชอบ มีความเป็นเจ้าของ และเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารและควบคุมตรวจสอบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของเทศบาลข้อเสนอในเชิงนโยบายรัฐต้องมีการเปิดโอกาสให้ท้องถิ่นมีอิสระในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ให้เพิ่มมากขึ้น โดยสอดคล้องกับหลักการกระจายอำนาจ หลักการบริหารการปกครองท้องถิ่น และหลักการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของท้องถิ่นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเทศบาลตำบลหลวงเหนือ--การบริหารงานบุคคลth_TH
dc.subjectการบริหารงานบุคคลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการพัฒนาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของเทศบาลตำบลหลวงเหนือ อำเภองาว จังหวัดลำปางth_TH
dc.title.alternativeThe development of human resources management of Luang Nuea Municipality at Ngao District in Lampang Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe research purposes are to study: (1) the human resources management of Luang Nuea Municipality, Ngao District, Lampang Province; (2) problems and causes of the issues regarding the human resources management of Luang Nuea Municipality, Ngao District, Lampang Province, (3) and the guidelines for problem solving and the guidelines for developing the human resources management of Luang Nuea Municipality, Ngao District, Lampang Province. The research was a qualitative research. The population were all 47 executives and employees of Luang Nuea Sub-district Municipality. The research tools were document survey forms and interview forms. The data collection was conducted by document survey and in-depth interview. For the data analysis, data classification and systemization, cause and effect analysis, content analysis, and analytic induction were used. It was found that: (1) the overall human resources management of Luang Nuea Sub-district Municipality was in conformity with the rules prescribed by the government and central administration but it was not consistent with autonomy for local human resources management; (2) the important problems regarding human resources management were the lack of the autonomy in human resources management, inconsistency between human resources management and the merit system, the shortage of manpower and limited career paths. The significant causes of the problems were the limited distribution of power regarding human resources management for local administrative organizations and inefficient mechanisms regarding internal and external management and supervision in accordance with the merit system. (3) The key guidelines for problem-solving and development of human resources management were that the municipality executives must focus on the merit system and underline the importance of building awakened, responsible, and possessive citizens to participate in management and supervision of human resources management of the municipality. In terms of policy suggestion, the government must provide opportunity for the local organization to be more autonomous in human resources management according to the principles of power distribution, local administrative management, and local human resources managementen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161940.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.09 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons