Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10696
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิตา เยี่ยมขันติถาวร | th_TH |
dc.contributor.author | สุรศักดิ์ คำสง, 2531- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-06T07:25:41Z | - |
dc.date.available | 2023-12-06T07:25:41Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10696 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยวิธีสอนแบบ SQ4R และ (2) ศึกษาความคงทนในการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 หลังเรียนด้วยวิธีสอนแบบ SQ4R และเมื่อเวลาผ่านไป 2 สัปดาห์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 โรงเรียนเชียรใหญ่ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 37 คน ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษอ่านเขียน 10 ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษอ่านเขียนที่ใช้ วิธีสอนแบบ SQ4R และ (2) แบบทดสอบความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 หลังเรียนด้วยวิธีสอนแบบ SQ4R สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 และ (2) ความคงทนในการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 หลังเรียนด้วยวิธีสอนแบบ SQ4R และเมื่อเวลาผ่านไป 2 สัปดาห์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ--การอ่าน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน | th_TH |
dc.title | ผลการใช้วิธีสอนแบบ SQ4R ที่มีต่อความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษและความคงทนในการเรียนรู้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 12 | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of using the SQ4R teaching method on English reading comprehension and learning retention of Mathayom Suksa V students in schools under the Secondary Education Service Area Office 12 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were 1) to compare English reading comprehension of Mathayom Suksa V students in schools under the educational service area office 12 before and after being taught by using the SQ4R teaching method, and 2) to study learning retention of the students after being taught by using the SQ4R teaching method and after two weeks. The research samples consisted of 37 Mathayom Suksa V students studying English Reading and Writing 10 course during the academic year 2019 in Chian Yai School, obtained by cluster random sampling. The employed research instruments were SQ4R lesson plans and a reading comprehension test. Statistics used for data analysis were mean, standard deviation and t-test. Research findings showed that 1) the posttest scores on English reading comprehension of Mathayom Suksa V students were significantly higher than those of the pretest at the .05 level, and 2) there was no significant difference at the .05 level between mean scores of the posttest and those after two weeks. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
166583.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License