Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10697
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนองth_TH
dc.contributor.authorวรรณี สมเพชร, 2521-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-12-06T07:31:04Z-
dc.date.available2023-12-06T07:31:04Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10697en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ถอดบทเรียนการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนบางปะกอกวิทยาคม และ (2) นำเสนอแนวทางการพัฒนางานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนบางปะกอกวิทยาคม การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กรณีศึกษาคือ โรงเรียนบางปะกอกวิทยาคม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 1 โดยมีผู้ให้ข้อมูลจำนวน 70 คน ประกอบด้วยคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ครูผู้สอน บุคลากรสายสนับสนุน นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ผู้นำชุมชน และศิษย์เก่า เครื่องมือที่ใช้ในเก็บรวบข้อมูล ได้แก่ แนวคำถามการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และแนวคำถามการสนทนากลุ่ม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) บทเรียนในการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วม คือ (1.1) วิธีการบริหารโรงเรียนที่ผู้บริหารเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกกลุ่มเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานวิชาการอย่างแท้จริง ตั้งแต่การร่วมกำหนดทิศทางของโรงเรียน ร่วมดำเนินงาน ร่วมประเมินผล ร่วมรับรู้ และร่วมรับผลประโยชน์ (1.2) ผู้ที่เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานวิชาการของโรงเรียน คือ คณะกรรมการสถานศึกษา หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ครูผู้สอน บุคลากรสายสนับสนุน นักเรียนผู้ปกครองนักเรียน ผู้นำชุมชนและศิษย์เก่า โดยมีผู้บริหารโรงเรียนเป็นผู้อำนวยความสะดวก และส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วม (1.3) เรื่องที่ผู้บริหารโรงเรียนส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วม จำแนกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกกลุ่มเข้ามามีส่วนร่วม ได้แก่ การร่วมกำหนดทิศทางของโรงเรียน การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การระดมทรัพยากรและสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการบริหารโรงเรียน และการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่การดำเนินงานด้านวิชาการของโรงเรียน อีกกลุ่มหนึ่งคือกลุ่มงาน และกิจกรรมที่เน้นให้บุคลากรภายในโรงเรียนเป็นผู้มีส่วนร่วม ได้แก่ งานการจัดการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผล และการนิเทศการศึกษา และ (2) แนวทางการพัฒนางานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนที่สำคัญคือ (2.1) การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ควรพัฒนาหลักสูตรที่เน้นให้เป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะให้มากขึ้น (2.2) งาน การจัดการเรียนการสอน ควรกำหนดนโยบาย และแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้เชิงรุกให้มากขึ้น (2.3) งานนิเทศการศึกษาควรมีการสรุปและประเมินผลการนิเทศทั้งในภาพรวม และรายกลุ่มสาระการเรียนรู้และใช้ผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนาครูให้เป็นรูปธรรม และ (2.4) งานวัดผลประเมินผล ควรปรับให้มีการวัดผลประเมินตามสภาพจริงให้มากขึ้น และควรพัฒนาให้มีเครื่องมือในการประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียนให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ทั้งนี้โดยเน้นให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการทุกงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectทักษะชีวิต--การศึกษาและการสอนth_TH
dc.subjectทักษะชีวิต--แบบเรียนสำเร็จรูปth_TH
dc.subjectการแนะแนว--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาเจตคติที่ดีต่อการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนร่มโพธิ์วิทยา จังหวัดศรีสะเกษth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package to develop good attitude toward learning of Mathayom Suksa V students at Rompho Wittaya school in Si Sa Ket Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare levels of good attitude toward learning of students before and after using a guidance activities package to develop good attitude toward learning; and (2) to compare the level of good attitude toward learning of the students at the end of using the guidance activities package with their counterpart attitude level during the follow-up period. The research sample consisted of 22 Mathayom Suksa V students at Rompho Wittaya School in Si Sa Ket province during the 2019 academic year, obtained by simple random sampling. The employed research instruments were a guidance activities package to develop good attitude toward learning, and a scale to assess good attitude toward learning with reliability coefficient of .98. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) after using the guidance activities package to develop good attitude toward learning, the students’ level of good attitude toward learning increased significantly at the .01 level of statistical significance; and (2) no significant difference was found between the students’ level of good attitude toward learning at the end of using the guidance activities package and their counterpart attitude level during the follow-up period.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
166584.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.74 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons