Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10721
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ลาวัลย์ หอนพรัตน์ | th_TH |
dc.contributor.author | นรนิติ โมงขุนทด, 2511- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-07T03:35:18Z | - |
dc.date.available | 2023-12-07T03:35:18Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10721 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาการสอบสวนคดีอาญาขององค์กรตำรวจที่ถูกมองว่าไม่โปร่งใส ขาดความสมบูรณ์ของพยานหลักฐาน โดยจะศึกษาความเป็นมา หลักการและเหตุผลของกระบวนการยุติธรรมเปรียบเทียบกับกฎหมายต่างประเทศที่ใช้ระบบกฎหมายจารีตประเพณี และระบบประมวลกฎหมายว่าประเทศเหล่านั้น กำหนดอำนาจหน้าที่ในเรื่องการสอบสวนของอัยการไว้อย่างไร เพื่อเป็นการเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขกฎหมายให้บังเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยศึกษาจากประมวลกฎหมายวีพิจารณาความอาญา วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ บทความ ตำรา หนังสือต่างๆ ตลอดจนถึงข้อมูลทางอินเทอเน็ตของไทยและต่างประเทศ แล้วนำมาวิเคราะห์ และสังเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า กฎหมายของประเทศไทย มีการแบ่งแยกอำนาจสอบสวนออกจากอำนาจฟ้องร้องคดีอย่างสิ้นเชิง ตรงข้ามกับประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศญี่ปุ่นที่ใช้ระบบกฎหมายต่างกันแต่กฎหมายกำหนดขั้นตอนของการสอยสวนกับการฟ้องร้องคดีให้ถือเป็นเรื่องเดียวกันที่ไม่สามารถแบ่งแยกออกจากกันได้ เป็นเหตุให้อัยการมีอำนาจสอบสวนและควบคุม กำกับ ดูแลดำเนินคดรอาญาทั้งระบบ และเป็นการยากที่จะถูกแทรกแซงในการดำเนินคดีส่วนอัยการของประเทศไทยไม่มีอำนาจเข้าร่วมสอบสวนคดีอาญาตั้งแต่เกิดคดี เพื่อเป็นหลักประกันความสมบูรณ์ ถูกต้องของพยานหลักฐานในคดีอันส่งผลต่อความเชื่อมั่นของประชาชนจึงเห็นควรกำหนดให้พนักงานอัยการมีอำนาจหน้าที่รับคำร้องทุกข์ และสอบสวน หรือเข้าร่วมในการสอบสวนคดีอาญาตั้งแต่เกิดการกระทำความผิดขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การสอบสวนคดีอาญา--ไทย | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | การปฏิรูประบบการสอบสวนคดีอาญาของไทย : กรณีให้อัยการเข้าร่วมสอบสวนคดีอาญา | th_TH |
dc.title.alternative | Reform of Thailand’s criminal investigation system : participation of public prosecutors in criminal investigations | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The independent study aimed to study background and significance of the criminal investigation in police organization in terms of the dubiousness and the incompleteness of evidences. The study collected the rational criterion in the justice system compared to the Foreign Law, based on the Common Law systems and the Civil Law system, to find out the stipulation concerning with the criminal investigation authority of prosecutors in those countries to propose the efficient law amendment. The study was a quality research which gathered data and information from the Criminal Procedure Code of Thailand, thesis studies, independence studies, articles, textbooks, internet etc. After that, the researcher analyzed and synthesized information to conclude the result of the study. The result shows that the Criminal Procedure Code of Thailand completely separates the inquiry authority from the prosecution authority. It differs from the United States and Japan. Both countries have the different law system; however, they set the procedure of the inquiry authority and the prosecution authority as the same issue and cannot be separated. Thus, the public prosecutors have the authority to administrate, control and investigate during the process from the beginning to the end which can prevent the intervention in criminal procedure. In contrast, Thai’s public prosecutors have no authority to join the investigation at the beginning. In order to guarantee the completeness and the uprightness of the evidences which may affect the public trustworthiness, the public prosecutors should have the authority to accept a complaint, investigate, and join the criminal case at the beginning stages since the offences have been committed. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.49 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License