Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10723
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สารีพันธุ์ ศุภวรรณ | th_TH |
dc.contributor.author | กฤษณุชา สรรเสริญ, 2516- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-07T06:17:02Z | - |
dc.date.available | 2023-12-07T06:17:02Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10723 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความต้องการในการพัฒนาสมรรถนะในการทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของพนักงานในสถานประกอบการประเภทธุรกิจงานบริการด้านโลจิสติกส์ในเขตกรุงเทพมหานคร (2) พัฒนาแนวทางในการพัฒนาสมรรถนะในการทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของพนักงานในสถานประกอบการประเภทธุรกิจงานบริการด้านโลจิสติกส์ในเขตกรุงเทพมหานคร ประชากร ได้แก่ ผู้บริหารและพนักงานที่ทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในสถานประกอบการประเภทธุรกิจงานบริการด้านโลจิสติกส์ในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พนักงานของสถานประกอบการประเภทธุรกิจงานบริการด้านโลจิสติกส์ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 500 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับความต้องการสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของพนักงาน 2) แบบสัมภาษณ์ผู้บริหารเกี่ยวกับความต้องการสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของพนักงาน 3) แนวทางการพัฒนาสมรรถนะของพนักงาน และ 4) แนวทางการสนทนากลุ่มเกี่ยวกับการประเมินแนวทาง วิธีดำเนินการวิจัย แบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 ศึกษาความต้องการของผู้บริหารและพนักงานเกี่ยวกับสมรรถนะของพนักงานที่ทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในสถานประกอบการประเภทธุรกิจงานบริการด้านโลจิสติกส์ในเขตกรุงเทพมหานคร ระยะที่ 2 พัฒนาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของพนักงานที่ทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ในสถานประกอบการประเภทธุรกิจงานบริการด้านโลจิสติกส์ในเขตกรุงเทพมหานคร สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ความต้องการสมรรถนะในการทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของพนักงานในสถานประกอบการประเภทธุรกิจงานบริการด้านโลจิสติกส์ในเขตกรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับมาก ประกอบด้วย สมรรถนะด้านความรู้ ประกอบด้วย ความรู้ในธุรกิจองค์กร ความเข้าใจพื้นฐานทางเครื่องมือทางดิจิทัล ความรู้ในการปกป้องข้อมูล การนำไปใช้ในเชิงในธุรกิจ สมรรถนะด้านทักษะ ประกอบด้วยการใช้ฮาร์ดแวร์และอินเตอร์เน็ต การใช้โปรแกรมและแอพพลิเคชั่น การใช้แผนที่ออนไลน์ การติดต่อสื่อสารผ่านสมาร์ทโฟน การสืบค้นข้อมูลผ่านสมาร์ทโฟน กฎหมายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและนโยบายการให้บริการ สมรรถนะด้านคุณลักษณะประกอบด้วย การเห็นคุณค่าและประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ การเคารพและปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ การยึดมั่นในจรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มีแรงจูงใจศึกษาเทคโนโลยีใหม่ ๆ อยู่เสมอ มีความอดทนในการทำงาน มีความมุ่งมั่นที่จะไปสู่ความสำเร็จในการทำงาน และมีทัศนคติที่ดีต่อการทำงาน 2) แนวทางการพัฒนาสมรรถนะ ประกอบด้วย การกำหนดเป้าหมายของหน่วยงาน การหาความต้องการสมรรถนะของพนักงาน และกระบวนการพัฒนาสมรรถะของพนักงาน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ | th_TH |
dc.subject | บุคลากรทางเทคโนโลยีสารสนเทศ | th_TH |
dc.title | แนวทางการพัฒนาสมรรถนะของพนักงานที่ทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในสถานประกอบการประเภทธุรกิจงานบริการด้านโลจิสติกส์ในเขตกรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | Guidelines for competency development of employees working in information technology in business establishments logistics services in Bangkok Metropolis | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were: 1) to study the need to develop competence in information technology work of employees. in an establishment in the type of logistics service business in Bangkok (2) to develop guidelines for improving the competency of working in information technology for employees in the logistics service business type. in Bangkok. The research sample consisted of 500 employees of enterprises in the logistics service business category in Bangkok. The research instruments were 1) employee information technology competency questionnaire, 2) an interview form for executives on information technology competency requirements of employees. 3) employee competency development guidelines, and 4) guidelines for group discussions about evaluating guidelines. The research methodology was divided into 2 phases. Phase 1 studied the needs of executives and employees regarding the competency of employees working in information technology. Phase 2 develop guidelines for the development of information technology competence of employees working in information technology. in an establishment in the type of logistics service business in Bangkok. Statistics for data analysis were the percentage, mean, standard deviation and content analysis The research findings were as follows: 1) the need for competency in information technology work of employees in the logistics service business establishment in Bangkok was at a high level, consisting of 1) knowledge competence consists of knowledge in business organizations, basic understanding of digital tools, knowledge of data protection used in business. 2) skill competence contains the use of hardware and internet use of programs and applications, use of online maps, smartphone communication, smartphone browsing, information technology laws, and service policies. Attribute competencies include appreciating the value and usefulness of information technology, respecting and complying with the information technology laws, adhering to the code of conduct for information technology, being motivated to study new technologies, persistence in work. , have a commitment to success at work, and a positive attitude towards work,. Competency development guidelines include setting organizational goals, identifying employee competency needs, and developing employee competency processes. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ชนกนารถ บุญวัฒนะกุล | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License