Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10726
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีรัตน์ อารีรักษ์สกุล ก้องโลก, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวินิจ เทือกทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุดารัตน์ สุทธิวงศ์, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-07T06:42:41Z-
dc.date.available2023-12-07T06:42:41Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10726-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน)) -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์และความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน และ (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์และความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน กับกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ ผลการวิจัยพบว่า (1) ความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนณิตศาสตร์และความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานมีความสัมพันธ์ทางบวก ขนาดความสัมพันธ์สูงมาก ( = 0.891, P < .05) และมีจริงโดยนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีความแปรปรวนร่วมกันร้อยละ 79.93 และ (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์และความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--อุดรธานีth_TH
dc.subjectความสามารถทางคณิตศาสตร์th_TH
dc.titleผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์และความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เรื่อง พีระมิด กรวย และทรงกลม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนคำยางพิทยา จังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeThe effects of problem-based leaning Activities management on Mathematics problem solving ability and mathematics learning achievement in the topic of pyramids cones and spheres of grade 9 students at Khamyangpittaya school in Udon Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) to study the relationship between mathematics learning achievement and mathematics problem solving ability of grade 9 students after learning by using problem-based learning activities and, (2) compare mathematics learning achievement and mathematics problem solving ability of grade 9 students between the groups learning problem-based learning activities and the group learning conventional mathematics learning activities. The research sample consisted of 48 grade 9 students of Khamyangpittaya School in Udonthani province during the second semester of the 2020 academic year, separated into 2 with 24 students in each The employed research instruments comprised of (1) mathematics learning management plans on pyramids cones and spheres problem-based learning activities management, (2) mathematics learning management plans on pyramids cones and spheres using conventional mathematics learning activities, (3) mathematical achievement tests on pyramids cones and spheres and (4) the mathematics problems solving ability test on pyramids cones and spheres. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, Pearson’s correlation coefficient, and MANOVA test. The research findings showed that (1) the relationship between mathematics learning achievement and mathematics problem solving ability of grade 9 students after learning by using problem-based learning activities had a positive relationship with high correlation (r = 0.891, p< .05) counterpart ability at the .05 level and The percentage of covariation was 79.38, and (2) mathematics learning achievement and mathematics problem solving ability of grade 9 students learning with problem-based learning activities was significantly higher than the group which learning with conventional mathematics learning activities counterpart ability at the .05 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons