Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10734
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปกกมล เหล่ารักษาวงษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอารยา ประเสริฐชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเปียวิภา งอมสงัด, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-07T07:53:43Z-
dc.date.available2023-12-07T07:53:43Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10734-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม. สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้คือการศึกษาวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคล ลักษณะการทำเกษตร ระดับความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกร (2) ระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเลือดของเกษตรกรและ (3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความปลอดภัยเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเลือดของเกษตรกรและอาศัยอยู่ที่อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ นานกว่า 6 เดือน คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างจากสูตรค่าสัดส่วน กรณีไม่ทราบจำนวนประชากรได้จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 325 คน ทำการสุ่มเลือกแบบมีระบบ เก็บข้อมูลโดยชุดตรวจคัดกรองระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเลือด และแบบสอบถามมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.80 โดยใช้สถิติได้แก่ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ ผลการศึกษาพบว่า (1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 50-59 ปี สถานภาพสมรส ระยะเวลาการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชเฉลี่ย 9 ปี มีความรู้อยู่ในระดับสูง ทัศนคติระดับปานกลางและพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชระดับพอใช้ (2) เกษตรกรมีระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสไม่ปลอดภัยร้อยละ 43.7 (3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความปลอดภัยเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเลือดของเกษตรกร ได้แก่ ระยะเวลาการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชน้อยกว่า 10 ปี การได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชทางอ้อม และใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างน้อย 2 ครั้งต่อเดือน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ข้อเสนอแนะการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าเราควรตระหนักเกี่ยวกับการส่งเสริมโครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อการใช้สารกำจัดศัตรูพืชอย่างปลอดภัยในเกษตรกรประชากรที่ศึกษาคือ เกษตรกรที่มีอายุมากกว่า 20 ปี และใช้ยาฆ่าแมลงในการเกษตรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเลือด--การตรวจth_TH
dc.subjectผู้ใช้สารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความปลอดภัยเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเลือดของเกษตรกร อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษth_TH
dc.title.alternativeFactors related to blood cholinesterase enzyme safety levels among earners in Huai Thap Than District, Si Sa Ket Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis cross-sectional study aimed to study; (1) personal characteristics, types of agriculture activities, knowledge, attitudes, and behaviors in agriculture pesticide use; (2) the blood levels of cholinesterase enzyme in farmers; and (3) factors related to safety levels of blood cholinesterase enzyme among farmers, all in Huai Thap Than District, Si Sa Ket province. The study involved a sample of 325 farmers systematic and randomly selected from those aged more than 20 years who used pesticides in agriculture and had lived in Huai Thap Than district for more than 6 months. The sample size was calculated with infinite population proportion. Data were collected using blood cholinesterase screening kits and a questionnaire whose reliability coefficient was 0.80, and then analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple logistic regression. The results showed that: (1) among the participants, most of them were married men aged 50-59 years, had been using pesticides for 9 years on average, and their levels of pesticide use knowledge, attitudes and self-protection behaviors were high, moderate and fair, respectively; (2) 43.7% of them had an unsafe cholinesterase enzyme level in the blood; and (3) their blood cholinesterase enzyme safety levels were associated with the pesticide use periods of less than 10 years, indirect exposure to pesticides, and frequency of pesticides use of less than 2 times per month (P-value <0.05). It has thus been demonstrated that we should have a health promotion programs for the safe use of pesticides in farmers.en_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.31 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons