Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10746
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีระวุธ ธรรมกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวรางคณา จันทร์คง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสากียะห์ เจ๊ะสมอเจ๊ะ, 2532--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-08T02:07:35Z-
dc.date.available2023-12-08T02:07:35Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10746-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม. (สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยแบบภาคตัดขวางครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยด้านลักษณะส่วนบุคคล ความรู้ ทัศนคติ ความเชื่ออำนาจในตน การมุ่งอนาคตและการควบคุมตนเอง และการได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมของผู้เข้ารับการบำบัด (2) อัตราของการไม่เสพยาเสพติดซ้ำของผู้เข้ารับการบำบัด และ (3) ปัจจัยที่มีอิทธิผลต่อการไม่เสพยาเสพติดซ้ำของผู้เข้ารับการบำบัด ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดยะลา กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้เข้ารับการบำบัดยาเสพติดในเขตอำเภอเมือง จังหวัดยะลา จำนวน 125 คน จากทั้งหมด 250 คน คำนวณขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณแบบทราบจำนวนประชากรและสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามมีค่าความเที่ยงในด้านความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด เท่ากับ 0.74 ด้านทัศนคติต่อการไม่เสพยาเสพติดซ้ำ เท่ากับ 0.78 ด้านความเชื่ออำนาจในตน เท่ากับ 0.82 ด้านการมุ่งอนาคตและการควบคุมตนเอง เท่ากับ 0.99 ด้านการได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมเท่ากับ 0.87 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติค ผลการวิจัยพบว่า (1) ด้านความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดอยู่ในระดับสูง ด้านทัศนคติต่อการไม่เสพยาเสพติดซ้ำอยู่ในระดับสูง ด้านความเชื่ออำนาจในตนอยู่ในระดับปานกลาง ด้านการมุ่งอนาคตและการควบคุมตนเองอยู่ในระดับปานกลาง ด้านการได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมอยู่ในระดับปานกลาง (2) อัตราของการไม่เสพยาเสพติดซ้ำของผู้เข้ารับการบำบัดในเขตอำเภอเมือง จังหวัดยะลา ร้อยละ 63.20 และ (3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการไม่เสพยาเสพติดซ้ำของผู้เข้ารับการบำบัดในเขตอำเภอเมือง จังหวัดยะลา ได้แก่ อาชีพ รายได้ ระยะเวลาที่หยุดเสพยาเสพติด ระดับความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด และระดับความเชื่ออำนาจในตน ซึ่งสามารถร่วมอธิบายโอกาสการไม่เสพยาเสพติดซ้ำได้ร้อยละ 37.80th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการติดยาเสพติด--ไทย--ยะลาth_TH
dc.subjectคนติดยาเสพติด--การติดตามผลth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการไม่เสพยาเสพติดซํ้าของผู้เข้ารับการบำบัด ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดยะลาth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting non-relapse drug addiction of rehabilitative patients in Mueang District, Yala Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis cross-sectional research aimed to study: (1) personal factors, knowledge, attitudes, internal locus of control, future-oriented and self-control, and social support for non-drug abuse; (2) the prevalence of non-relapse Drug Addiction of Rehabilitative Patients; and (3) factors influencing non-relapse drug addiction of rehabilitative patients in Mueang district, Yala province. The study involved 125 patients randomly selected from all 250 drug rehab patients in Mueang Yala district, based on the sample size calculated using the finite population formula. Data were collected using a questionnaire with the reliability values for drug knowledge of 0.74, attitudes of 0.78, internal locus of control of 0.82, future-oriented and self-control of 0.99, and social support factor of 0.87. Statistics for data analyses were frequency, percentage, mean, standard deviation, and logistic regression. The results demonstrated that, among all participants: (1) their drug knowledge level was high; and the levels of other factors were high for non-drug use attitudes and moderate for internal locus of control, future-oriented and self-control, and social support; (2) the prevalence of non-relapse drug addiction of rehabilitative patients in the district was 63.20 %; and (3) the factors affecting non-relapse drug addiction of rehabilitative patients in the district were occupation, income, non-drug use period, narcotic drug knowledge, and internal locus of control, which could explain 37.80% of opportunities for non-relapse drug addictionen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.57 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons