Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10750
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมปอง พะมุลิลา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุลักขณา จันทวีสุข, 2508--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-08T02:37:34Z-
dc.date.available2023-12-08T02:37:34Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10750-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยและพัฒนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สำหรับพยาบาลปริศัลยกรรมในการดูแลผู้ป่วยผ่าตัดก้อนเนื้องอกสมอง โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ และ 2) ศึกษาผลการนำโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะไปใช้ในการดูแลผู้ป่วยผ่าตัดก้อนเนื้องอกสมอง กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เป็นพยาบาลปริศัลยกรรมระดับ 1- 4 โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จำนวน 39 คน กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย (1) โปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ชื่อ "กลุ่มไลน์ก้อนเนื้องอกสมอง" สำหรับการดูแลผู้ป่วยผ่าตัดก้อนเนื้องอกสมองของกลุ่มตัวอย่างและแพทย์ผู้ผ่าตัด และ (2) แบบประเมินสมรรถนะพยาบาลปริศัลยกรรมในการดูแลผู้ป่วยผ่าตัดก้อนเนื้องอกสมอง ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากการบูรณาการ 3 แนวคิดที่เกี่ยวกับการผ่าตัดสมอง และผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน ได้ค่าความตรงตามเนื้อหาและค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคเท่ากับ 0.944 และ 0.982 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที ผลการศึกษาพบว่า 1) โปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะที่พัฒนาขึ้นมีกิจกรรม 5 กิจกรรม ได้แก่ (1) การปฐมนิเทศ (2) การให้ความรู้ (3) สถานการณ์จำลอง (4) การมอบหมายงานปฏิบัติการพยาบาล และ (5) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ 2) ผลการนำโปรแกรมไปใช้ พบว่า ค่าเฉลี่ยของสมรรถนะพยาบาลปริศัลยกรรมในการดูแลผู้ป่วยผ่าตัดก้อนเนื้องอกสมอง ทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด (I = 4.394, SD = 447) และค่าเฉลี่ยของสมรรถนะพยาบาลปริศัลยกรรมหลังเข้าร่วมโปรแกรมสูงกว่าก่อนการเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการพยาบาลศัลยศาสตร์--การฝึกอบรมth_TH
dc.subjectพยาบาล--การฝึกอบรมในงาน.th_TH
dc.subjectสมอง--ศัลยกรรม--ผู้ป่วย--การดูแลth_TH
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์สำหรับพยาบาลปริศัลยกรรมในการดูแลผู้ป่วยผ่าตัดก้อนเนื้องอกสมอง โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์th_TH
dc.title.alternativeThe development of an enhancing competency program through electronic media for perioperating nurses to care patients with brain tumor surgery at Sunpasitthiprasong Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research and development were: (1) to develop an enhancing competency program through Electronic Media for perioperative nurses to care patients with brain tumor surgery at Sunpasitthiprasong Hospital, and (2) to examine the results of program implementation for caring patients with brain tumor surgery at Sunpasitthiprasong Hospital. The sample comprised 39 perioperative nurses at the 1st – 4th levels in the operating room at Sunpasitthiprasong Hospital, and they were selected by purposive sampling. The research tools composed of (1) a program to enhance competency through electronic media, named “Line Application on Brain Tumor Surgery” for perioperative nurses and a surgeon to care patients with brain tumor surgery, and (2) evaluation form to evaluate perioperative nurses’competencies.These tools were developed by the researcher and integrated 3 concepts relating to brain tumor surgery, and were verified by 5 experts. Content validity index and the Cronbach’s alpha reliability coefficients of the questionnaires were 0.944 and 0.982 respectively. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pair t-test. Research findings were as follows. 1) The developed program included 5 activities (1) program introduction, (2) giving knowledge, (3) simulation, (4) assignment, and (5) knowledge sharing. 2) After program implementation, the mean score of perioperative nurses’ competencies in 5 domains was at the highest level and were statistically significantly higher than before (p < 0.01).en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.14 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons