Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10751
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สฤษดิ์พงษ์ ลิมปิษเฐียร | th_TH |
dc.contributor.author | พงศกร พรหมเรืองโชติ, 2534- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-08T02:45:09Z | - |
dc.date.available | 2023-12-08T02:45:09Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10751 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความฉลาดทางอารมณ์ของบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13 (2) ศึกษาระดับปัจจัยความสำเร็จในการจัดการความรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13 (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์ของบุคลากรทางการศึกษากับปัจจัยความสำเร็จในการจัดการความรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13 และ (4) วิเคราะห์ความฉลาดทางอารมณ์ของบุคลากรทางการศึกษที่ส่งผลต่อปัจจัยความสำเร็จในการจัดการความรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรทางการศึกษา โดยแบ่งเป็นผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13 จำนวน 341 คน โดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจงและวิธีการสุ่มอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบทดสอบและแบบสอบถามซึ่งอยู่ในชุดเดียวกัน มีความเที่ยงเท่ากับ 0.89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ความฉลาดทางอารมณ์ของบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธมศึกษาเขต 13 อยู่ในระดับสูงกว่าปกติ ได้แก่ ด้านควบคุมตนเอง ส่วนความฉลาดทางอารมณ์ของบุคลากรทางการศึกษาด้านอื่นอยู่ในระดับปกติ (2) ปัจจัยความสำเร็จในการจัดการความรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13 อยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน เรียงตามลำดับดังนี้ จิตสำนึกของบุคลากร การมีส่วนร่วมของบุคลากร ความมุ่งมั่นของฝ่ายบริหาร การประเมินเพื่อการความฉลาดทางอารมณ์ของบุคลากรทางการศึกษามีความสัมพันธ์ในชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 กับปัจจัยความสำเร็จในการจัดการความรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13 และ (4) ความฉลาดทางอารมณ์ของบุคลากรทางการศึกษาที่ส่งผลต่อปัจจัยความสำเร็จในการจัดการความรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13 คือ ด้านรับผิดชอบ ด้านความสงบสุขทางใจ ด้านความพอใจในชีวิต ด้านการมีแรงจูงใจ ด้านสัมพันธภาพและด้านความภูมิใจในตนเอง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ความฉลาดทางอารมณ์ | th_TH |
dc.subject | การบริหารองค์ความรู้ | th_TH |
dc.title | ความฉลาดทางอารมณ์ของบุคลากรทางการศึกษาที่ส่งผลต่อปัจจัยความสำเร็จในการจัดการความรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13 | th_TH |
dc.title.alternative | Emotional intelligence of educational affecting knowledge management success factors in basic education schools under the Secondary Education Service Area Office 13 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to study the level of emotional intelligence of educational personnel in basic education schools under the Secondary Education Service Area Office 13; (2) to study the level of knowledge management success factors in basic education schools under the Secondary Education Service Area Office 13; (3) to study the relationship between emotional intelligence of educational personnel and knowledge management success factors in basic education schools under the Secondary Education Service Area Office 13; and (4) to analyze emotional intelligence of educational personnel affecting knowledge management success factors in basic education schools under the Secondary Education Service Area Office 13. The research sample consisted of 341 educational personnel including purposively selected school administrators and randomly selected classroom teachers in basic education schools under the Secondary Education Service Area Office 13. The research tool used in this study was a questionnaire which included a test in the same form, with reliability coefficient of .89. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, correlation, and stepwise multiple regression analysis. Research findings showed that (1) the emotional intelligence aspect of educational personnel in basic education schools under the Secondary Education Service Area Office 13 that was at the higher than normal level was the self-control aspect, while all other aspects were at the normal level; (2) the knowledge management success factors in basic education schools under the secondary education service area office 13 were at the highest level in all aspects, which could be ranked based on their rating means as follows: personnel’s consciousness, personnel’s participation, administrator’s determination, and evaluation for development, respectively; (3) the emotional intelligence factors of educational personnel that correlated positively at the rather high level, which was significant at the .01 level of statistical significance, with knowledge management success factors in basic education schools under the Secondary Education Service Area Office 13 were the responsibility factor (X3) and life satisfaction factor (X8); and (4) the emotional intelligence factors of educational personnel affecting knowledge management success factors in basic education schools under the Secondary Education Service Area Office 13 were responsibility (X3), mental happiness (X9), life satisfaction (X8), having motivation (X4), human relationship (X6), and self-pride (X7), The predicting equation in the form of standard score was shown as follows. Žy = 0.457 ZX3 + 0.267 ZX9 + 0.321 ZX8 - 0.257 ZX4 + 0.199 ZX6 - 0.118 ZX7 | en_US |
dc.contributor.coadvisor | นิตยา ภัสสรศิริ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.3 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License