Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10756
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชูชาติ พ่วงสมจิตร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเกศินี กิตติบาล, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-08T03:24:23Z-
dc.date.available2023-12-08T03:24:23Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10756-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมวิธีแบบอธิบายตามลำดับ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเหนื่อยล้าจากการทำงานและการฟื้นตัวของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา 2) เปรียบเทียบความเหนื่อยล้าจากการทำงานและการฟื้นตัวของพยาบาลวิชาชีพแต่ละแผนก และ 3) ศึกษาแนวทางการจัดการความเหนื่อยล้าจากการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่าง เป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม เป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยนอก หอผู้ป่วยใน และหน่วยพิเศษ จำนวน 239 คน และ 2) กลุ่มตัวอย่างที่ร่วมสนทนากลุ่ม เป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 9 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มี 2 ส่วน คือ 1) แบบสอบถามความเหนื่อยล้าและการฟื้นตัวจากความเหนื่อยล้าจากการทำงาน และ 2) แนวคำถาม การสนทนากลุ่ม แบบสอบถามผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา ตั้งแต่ 0.80 - 1.00 และมีความเที่ยงเท่ากับ 0.78 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) คะแนนเฉลี่ยความเหนื่อยล้าจากการทำงาน และการฟื้นตัวจากความเหนื่อยล้าจากการทำงานของพยาบาลวิชาชีพโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และจากการสนทนากลุ่มพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีความเหนื่อยล้าทั้งทางร่างกาย จิตใจและอารมณ์ 2) พยาบาลวิชาชีพในหอผู้ป่วยวิกฤติมีความเหนื่อยล้าโดยรวมสูงกว่า แต่การฟื้นตัวต่ำกว่าแผนกอื่น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) แนวทางการจัดการความเหนื่อยล้าจากการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ แบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่ (1) ระดับบุคคล ได้แก่ การนอนหลับพักผ่อนเพียงพอ การทำกิจกรรมผ่อนคลายในวันหยุด การออกกำลังกาย การบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ การใช้เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน การจัดการกับอารมณ์ การแลกเปลี่ยนเวรกันเองเมื่อจำเป็น และการสร้างบรรยากาศการทำงานที่ดีด้วยตัวเอง (2) ระดับองค์กร ได้แก่ การสร้างรูปแบบการจัดการความเหนื่อยล้าจากการทำงาน การจัดกระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ การจัดตารางเวรอย่างเหมาะสม การจัดสรรอัตรากำลังที่เพียงพอ การสนับสนุนขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน การจัดเวลาการพักผ่อนขณะปฏิบัติงานและวันหยุดอย่างเพียงพอ การจัดห้องนอนเป็นสัดส่วนและเหมาะสมในหอผู้ป่วย การจัดสรรทรัพยากรการทำงานให้เพียงพอ และการไม่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคลนอกงาน และ (3) ระดับหน่วยงานกลาง ได้แก่ (ก) รัฐบาลมีการกำหนดนโยบายสอดคล้องกับกฎหมายแรงงาน การควบคุมมาตรการการจัดการปัญหาความเหนื่อยล้าจากการทำงานของพยาบาลวิชาชีพให้เป็นรูปธรรม การจัดอัตรากำลังพยาบาลวิชาชีพและบุคลากรด้านอื่น ๆ ให้เพียงพอ การสร้างขวัญและกำth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความล้าในที่ทำงานth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.titleการจัดการความเหนื่อยล้าจากการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.title.alternativeOccupational fatigue management in professional nurses at Phra Nakhon Si Ayutthaya Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis mixed-methods research with explanatory sequential design aimed: 1) to study occupational fatigue and recovery of professional nurses at Phra Nakhon Si Ayutthaya Hospital, 2) to compare occupational fatigue and recovery of professional nurses in different departments, and 3) to explore their management guidelines for occupational fatigue. The subjects were professional nurses at Phra Nakhon Si Ayutthaya Hospital, and the sample comprised 2 groups: 1) two hundred thirty nine Professional nurses fromoutpatient departments, inpatient departments, and intensive care units who answered questionnaires, and 2) nine professional nurses who attended focus group discussion. Research tools consisted of 2parts including1) occupational fatigue and recovery questionnaires, and 2) a question guideline for focus group discussion. The tools were done for content validities with 0.80 - 1.00. The reliability of the questionnaire was 0.78. Research data were analyzed by descriptive statistics, one way analysis of variance (ANOVA), and content analysis. The results of this study illustrated as follows. 1) The total average of occupational fatigue and recovery scores were at the moderate level; and the nurses from focus discussion group also revealed physical mental and emotional dimensions of fatigue. 2) Professional nurses who worked for intensive care units had significantly higher overall fatigue but lower recovery than other departments (< 0.05). 3) The occupational fatigue management of professional nurses were divided into 3 levels. (1) The individual level included adequate sleep, doing activities on holidays, exercises, muscle pain relief, caffeinated beverage use, emotional management, shiftwork rescheduling if necessary, and self-building good work atmosphere. (2) The organizational level involved creating an occupational fatigue management model, efficient work process arrangement, proper shift scheduling, adequate staffing, job morale and motivation enhancement, scheduling for sufficient relaxation time during on the job and holidays, private and proper bedrooms arrangement, satisfaction on resource supply, and no personal infringement. Finally, 3) the central agency level encompassed 2 parts: (1) the government sector should set a policy relied on labor laws, standard control of tangible occupational fatigue management, enough manpower both nursing and other staffing, job morale and motivation enhancement, job motivation by containing government position, compensation increment, fair career ladder support, job wisdom promotion; and (b) nursing profession organizations should support researches on occupational fatigue managementen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons