Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10760
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาริณี เอี่ยมสวัสดิกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorมุกดา หนุ่ยศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชรินรัตน์ ศิริทวี, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-08T03:48:04Z-
dc.date.available2023-12-08T03:48:04Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10760-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพและภาวะสุขภาพผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงกลุ่มทดลอง ระหว่างก่อนและหลังทดลอง ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุที่มารับการรักษาที่คลินิกพิเศษความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลรัตนบุรี อายุ 35-65 ปี ซึ่งอาศัยอยู่ในหมู่ 5, 6, 7, 10 ตำบลไผ่ อำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ และมารับการรักษาที่คลินิกพิเศษความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลสำโรงทาบ ซึ่งอาศัยอยู่ในตำบลสำโรงทาบ อำเภอสำโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์ ที่ได้จากการเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์ในการคัดเข้าศึกษา เป็นกลุ่มทดลอง 33 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 32 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง เป็นโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นตามแนวคิดแบบจำลองพรีสีด-โพรสีดของกรีนและครูเตอร์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ (1) แบบสัมภาษณ์พฤติกรรมสุขภาพ มี 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ 2 พฤติกรรมสุขภาพ มีค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา .83 และมีค่าความเที่ยง .72 (2) เครื่องวัดความดันโลหิตแบบดิจิทัล สายวัดและเครื่องชั่งน้ำหนักแบบดิจิทัล (3) แบบบันทึกข้อมูลสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา สถิติการทดสอบที สถิติการทดสอบวิลคอกซันแมทชแพร์สซายน์แรงค์ และสถิติการทดสอบแมนวิทนีย์ยู ผลการวิจัยพบว่า (1) หลังทดลอง กลุ่มทดลอง มีพฤติกรรมสุขภาพโดยรวมและรายด้านทุกด้านสูงกว่าก่อนทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) หลังทดลอง กลุ่มทดลอง มีความดันโลหิตชิสโตลิกและไดแอสโตลิก ดัชนีมวลกายและรอบเอว ต่ำกว่าก่อนทดลอง ความดันโลหิตซิสโตลิกต่ำกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ ดัชนีมวลกายลดลงมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ แต่ความดันโลหิตไดแอสโตลิกและรอบเอวไม่แตกต่างจากกลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความดันเลือด--โรคth_TH
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพth_TH
dc.subjectผู้ป่วย--การปรับพฤติกรรมth_TH
dc.titleผลของโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโรงพยาบาลรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์th_TH
dc.title.alternativeEffects of a health behaviors developing program for hypertension patients at Rattanaburi, Surin Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this quasi-experimental research were to compare health behaviors and health status of hypertension patients in an experimental group before and after experiment and after experiment between the experimental group and a comparison group. The sample comprised the patients who were diagnosed by a doctor as essential hypertension, aged 35-65 years, attending at a special hypertension clinic, Rattanaburi Hospital, lived in Moo 5, 6, 7, 10, Phai Subdistrict, Rattanaburi District, Surin Province, and patients who attended at a special hypertension clinic, Samrong Thap Hospital, lived in Samrong Thap Subdistrict, Samrong Thap District, Surin Province. They were selected by the purposive sampling technique as inclusion criteria. Thirty three persons were put in the experimental group and 32 persons were put in the comparison group. The experimental tool was the Health Behaviors Developing Program for Hypertension Patients based on the PRECEDE-PROCEED model of Green and Kreuter. The collecting data tool were: (1) interview questionnaires including two parts: general data and health behaviors with content validity index was .83 and reliability was .72, (2) digital sphygmomanometer, tape and digital scale, and (3) a health record form. Data were analyzed by descriptive statistics, t-test, Wilcoxon Matched Pairs Signed Rank test, and Mann-Whitney U test. The results showed as follows. (1) After experiment, overall and every aspect of health behaviors of the experimental group were significantly higher than before experiment and the comparison group (p < .05), (2) After experiment, systolic blood pressure, diastolic blood pressure, body mass index, and waist of the experimental group were significantly lower than before experiment. Systolic pressure of the experimental group was significantly lower than the comparison group. Body mass index significantly decreased more than the comparison group. However, diastolic blood pressure and waist of the experimental group were not significantly different from the comparison group. (p < .05).en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.53 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons