Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10765
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | บุญสืบ โสโสม, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | พิณทอง จอมพุก, 2521- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-08T04:16:43Z | - |
dc.date.available | 2023-12-08T04:16:43Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10765 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์การจัดการการดูแลผู้ป่วยหอบหืดโรงพยาบาลชุมชนระดับทุติยภูมิ จังหวัดสระบุรี 2) สร้างรูปแบบการจัดการการดูแลผู้ป่วยหอบหืดและ 3) ประเมินความเหมาะสมของรูปแบบที่พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่าง คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง กลุ่ม 1 สำหรับวิเคราะห์การจัดการการดูแลผู้ป่วยหอบหืด ได้แก่ แพทย์ 4 คน พยาบาล 4 คน เภสัชกร 4 คน และนักกายภาพบำบัด 4 คน และผู้ป่วย 4 คน และญาติ 4 คน กลุ่มที่ 2 สำหรับประเมินความเหมาะสมของรูปแบบที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย ผู้ให้บริการ 2 คน ผู้รับบริการ 2 คน และผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน รวม 7 คน เครื่องมือในการวิจัยมี 2 ชุด ได้แก่ (1) แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างเพื่อวิเคราะห์การจัดการการดูแลผู้ป่วยหอบหืดสำหรับผู้ให้บริการและผู้รับบริการ มี 2 ส่วน และ (2) แบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบที่พัฒนาขึ้น เครื่องมือทั้ง 2 ชุด ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน มีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาของชุดที่ 1 ส่วนที่ 1 และ 2 เท่ากับ 0.78 , 0.84 และชุดที่ 2 เท่ากับ 0.79 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้ป่วยหอบหืดจำนวนหนึ่งยังมีความรู้และความสามารถไม่เพียงพอต่อการจัดกาการดูแลตนเองได้ และผู้ให้บริการ ครอบครัวและชุมชนจำเป็นต้องมีบทบาทสนับสนุนการจัดการการดูแลผู้ป่วยเพิ่มขึ้น 2) รูปแบบการจัดการการดูแลผู้ป่วยหอบหืดประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ (1) บทบาทผู้ให้บริการ (2) บทบาทของครอบครัวและชุมชนและ (3) บทบาทของผู้ป่วย และ 7 องค์ประกอบย่อย เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยจัดการการดูแลตนเองได้ได้แก่ (1) การจัดบริการสุขภาพอย่างต่อเนื่อง และเชื่อมโยงจากโรงพยาบาลสู่บ้าน (2) การทำงานร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ โดยให้ผู้ป่วยหรือญาติร่วมตั้งเป้าหมาย (3) พัฒนาระบบการลงบันทึกข้อมูลผู้ป่วยหอบหืดและนำผลมาวิเคราะห์มาใช้กับผู้ป่วย (4) พัฒนาแนวปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยหอบหืด และแนวทางการให้สุขศึกษาผู้ป่วยหอบหืด (5) พัฒนาสมรรถนะพยาบาลในการจัดการรายกรณีผู้ป่วยหอบหืด (6) ส่งเสริมการจัดการการดูแลตนเองของผู้ป่วยในด้านการออกกำลังกาย การจัดการความเครียด และด้านการใช้ยาให้มีประสิทธิภาพ และ (7) ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการการดูแลตนเองของผู้ป่วย และร่วมพัฒนาสิ่งแวดล้อม และ 3) ผลการประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการจัดการการดูแลผู้ป่วยหอบหืด พบว่า มีความเหมาะสมโดยรวมร้อยละ 84.53 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ผู้ป่วยโรคหืด--การดูแล | th_TH |
dc.subject | ผู้ป่วย--การดูแล | th_TH |
dc.title | รูปแบบการจัดการการดูแลผู้ป่วยหอบหืด โรงพยาบาลชุมชนระดับทุติยภูมิ จังหวัดสระบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Self-management model for asthma patients at secondary community hospitals in Saraburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this descriptive research were: 1) to analyze the self-management of asthma patients at secondary community hospitals, 2) to develop a self-management model for asthma patients, and 3) to evaluate the appropriateness of the developed model. Samples were selected by purposive sampling technique, and consisted of 2 groups. The first group for analyzing the self-care management of asthma patients comprised 4 physicians, 4 professional nurses, 4 pharmacists, and 4 physical therapists, as well as 4 patients and 4 relatives. The second group for evaluating the appropriateness of the developed model consisted of 2 health care providers, 2 patients and 3 experts. Two sets of research tools were used: (1) a semi-structured interview form for analyzing the self-management of asthma patients for health care providers and clients that was divided into two parts, and (2) an evaluation form to assess the appropriateness of the developed model. The content validity of these tools was verified by 5 experts, and it was 0.78, 0.84 and 0.79, respectively. Data were analyzed by descriptive statistics and content analysis. The research findings were as follows. 1) A number of asthma patients had insufficient knowledge and abilities to manage their health themselves, and the roles of health care providers, patients’ families and communities were needed to provide more support for the patients. 2) The self-management model for asthma patients consisted of 3 main components, (1) health care providers (2) patients’ families and communities, and (3) the roles of asthma patients; as well as 7 sub components to enhance patients’ self- management that consisted of (1) providing continuous health services, and linking from hospitals to patients’ homes, (2) working as multidisciplinary teams, (3) developing the patients’ recording system and taking the results back to the patients, (4) developing patients’ care guidelines and guidelines for health education, (5) developing nurses’ competencies for case management, (6) promoting patents’ exercise, stress management, and effective drug use, and (7) participation from patients’ families and communities including developing the patients’ environments. 3) Experts evaluated the developed self-management model for asthma patients as appropriate (84.53%). | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License