Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10766
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | นารีรัตน์ จิตรมนตรี อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ฟาอิส วาเลาะแต, 2530- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-08T04:22:10Z | - |
dc.date.available | 2023-12-08T04:22:10Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10766 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยและพัฒนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาหลักฐานเชิงประจักษ์เกี่ยวกับรูปแบบการป้องกันการพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยสูงอายุ 2) สร้างรูปแบบการป้องกันการพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยสูงอายุ ในโรงพยาบาลสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 3) ศึกษาผลการนำรูปแบบการป้องกันการพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยสูงอายุที่พัฒนาขึ้นไปใช้ในโรงพยาบาลดังกล่าว กลุ่มตัวอย่างคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จาก 2 กลุ่ม ได้แก่ (1) หลักฐานเชิงประจักษ์ จากฐานข้อมูลต่างประเทศ ได้แก่ สถาบันโจแอนนาบริกส์ ห้องสมุดคอเครน และจากฐานข้อมูลของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย กลุ่ม 1 และ 2 และ (2) พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 10 คน เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย 1) รูปแบบการป้องกันการพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยสูงอายุที่พัฒนาขึ้น 2) แบบประเมินคุณภาพของหลักฐานเชิงประจักษ์ 3) แบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบที่พัฒนาขึ้น และ 4) แบบประเมินผลการนำรูปแบบที่พัฒนาขึ้นไปใช้ ตรวจสอบเครื่องมือได้ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 1 การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติพรรณนา และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) หลักฐานเชิงประจักษ์ที่ได้จากการสืบค้นอย่างเป็นระบบ จำนวน 27 บทความ จากฐานข้อมูลต่างประเทศ 19 บทความ มีค่าคุณภาพงานวิจัยระดับมาก และจากศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย 8 บทความ และ 2) รูปแบบการป้องกันการพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยสูงอายุ มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมโดยรวมอยู่ระดับมากที่สุด ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การประเมินภาวะเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม (2) การวางแผนการพยาบาลเพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้ม (3) การปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้ม และ (4) การประเมินผลการปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้ม และ 3) ผลการนำรูปแบบที่พัฒนาขึ้นไปใช้ในโรงพยาบาลสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีความเหมาะสม 4 ด้าน ได้แก่ (1) การใช้เวลาน้อยที่สุด (2) เข้าใจได้ง่ายที่สุด (3) มีความสะดวกมากที่สุด และ (4) มีความชัดเจนและครอบคลุมขั้นตอนการนำไปใช้มาก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การหกล้มในผู้สูงอายุ--การป้องกัน | th_TH |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการป้องกันการพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยสูงอายุโรงพยาบาลสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | th_TH |
dc.title.alternative | The development of a fall prevention model for elderly patients at a Provincial Administrative Organization Hospital | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research and development study were: 1) to find empirical evidence related to fall prevention models for elderly patients, 2) to develop a fall prevention model for elderly patients in a Provincial Administrative Organization Hospital, and 3) to evaluate implementation of the developed model in the hospital. The samples were selected by purposive sampling technique and consisted of two groups. The first group, empirical evidence related to fall prevention models for elderly patients, were systematically searched from the international databases, Joanna Briggs Institute (JBI) and Cochran Library, and from Thai-Journal Citation Index (TCI) database, groups 1 and 2. The second group was 10 registered nurses. The research tools consisted of: (1) a newly developed fall prevention model for elderly patients, (2) an evidence-based quality assessment form, 3) a form for evaluating the appropriateness of the developed model, and 4) a form for evaluating the developed model implementation in the Provincial Administrative Organization Hospital. Content validity index score was 1.0. Data were analyzed by using descriptive statistics and content analysis. The research findings were as follows. 1) 27 empirical evidence samples from systematic searching, 19 articles from the international databases were evaluated as having a high level of research quality. The remainder were 8 articles from the Thai-Journal Citation Index (TCI) database. 2) The developed fall prevention model was evaluated as appropriate at a high level, and consists of 4 steps: (1) fall risk assessment, (2) nursing care plan for fall prevention, (3) nursing implementation for fall prevention, and (4) nursing evaluation for fall prevention. 3) The results of implementing the developed model were evaluated as appropriate in 4 aspects as follows, (1) the least time consuming, (2) easiest to understand, (3) the most convenient, and (4) clear and comprehensive implementation steps | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 22.71 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License