Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10773
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดวงกมล ปิ่นเฉลี่ยว, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | สุกานดา พลบุตร, 2518- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-08T06:36:54Z | - |
dc.date.available | 2023-12-08T06:36:54Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10773 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเยี่ยมบ้านและการมีส่วนร่วมของครอบครัวต่อพฤติกรรมควบคุมโรคและระดับน้ำตาลในเลือดของสตรีที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการเยี่ยมบ้านและการมีส่วนร่วมของครอบครัว กับกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ชนิดคลาสเอวัน ที่มารับบริการฝากครรภ์ ณ โรงพยาบาลหนองหาน อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรมการเยี่ยมบ้านและการมีส่วนร่วมของครอบครัว โดยประยุกต์ตามแนวคิดการเสริมสร้างพลังอำนาจของกิบสัน (1995) ประกอบด้วย แผนการสอน คู่มือการปฏิบัติตัวสำหรับสตรีที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ และสมุดบันทึกการเยี่ยมบ้าน และ 2) แบบสอบถามพฤติกรรมควบคุมโรคเบาหวาน และแบบบันทึกระดับน้ำตาลในเลือด มีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 0.86-1.0 และค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ 0.84 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบแมนวิทนีย์ ยู ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการควบคุมโรคเบาหวานของสตรีที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์หลังเข้าร่วมโปรแกรมดีกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมและดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และระดับน้ำตาลในเลือดของสตรีที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์หลังเข้าร่วมโปรแกรมต่ำกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมและต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | เบาหวานขณะตั้งครรภ์--การควบคุม | th_TH |
dc.title | ผลของโปรแกรมการเยี่ยมบ้านและการมีส่วนร่วมของครอบครัวต่อพฤติกรรมควบคุมโรคและระดับน้ำตาลในเลือดของสตรีที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ โรงพยาบาลหนองหาน จังหวัดอุดรธานี | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of a home visits program and family's participation on health behaviors to control diabetes mellitus and blood sugar level of gestational diabetic women Nonghan Hospital, Udontani Province | e |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this quasi-experimental research were to study the effects of a home visits program and family’s participation on health behaviors to control diabetes mellitus and blood sugar level in gestational diabetic women between the group which received a home visits program and family’s participation and the group which received conventional care. The sample were 48 gestational diabetic women who receiving antinatal service at the Nong Han Hospital, U Udon Thani Province, and they were divided into the experimental group (20) and the control group (20). The research instruments include: 1) a home visits program which developed based on the empowerment concept of Gibson (1995), consisting of a lesson plan, a handbook of gestational diabetic women and a home visit record form and 2) the health behaviors to control diabetes mellitus questionnaire and blood sugar level record form, content validity index were 0.86-1.00 and the reliability of questionnaire was 0.84. Data were analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation and Mann-Whitney U test. The result revealed as follows. After attending the program, health behaviors to control diabetes mellitus were significantly better than before attending the program, as well as these result were better than the control group (p<.05). Also, blood sugar level of experimental group were significantly less than before attending the program, as well as these result were significantly less than the control group (p<.05). | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 19.38 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License