Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10801
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสภนา สุดสมบูรณ์th_TH
dc.contributor.authorสุภาพ บริบูรณ์, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-12-13T02:57:21Z-
dc.date.available2023-12-13T02:57:21Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10801en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาระดับพฤติกรรมการนิเทศของผู้บริหารสถานศึกษาของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 (2) เพื่อศึกษาระดับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของครูของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 และ (3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการนิเทศของผู้บริหารสถานศึกษากับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของครู ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ (1) พฤติกรรมการนิเทศของผู้บริหารสถานศึกษาของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ได้แก่ พฤติกรรมการนิเทศแบบไม่ชี้นำ พฤติกรรมการนิเทศแบบร่วมมือพฤติกรรมการนิเทศแบบชี้นำควบคุม และพฤติกรรมการนิเทศแบบชี้นำให้ข้อมูล (2) ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของครู ในภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน ด้านสวัสดิการและความก้าวหน้าในวิชาชีพ ด้านความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา ด้านความปลอดภัยทางร่างกายและจิตใจของผู้ปฏิบัติงาน และด้านสภาพการปฏิบัติงาน และ (3) พฤติกรรมการนิเทศของผู้บริหารสถานศึกษามีความสัมพันธ์ทางบวกกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของครู โดยภาพรวมในระดับสูงมาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r =. 809)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียนth_TH
dc.subjectขวัญในการทำงานth_TH
dc.subjectครู--ไทย--ความพอใจในการทำงาน.th_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการนิเทศของผู้บริหารสถานศึกษากับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2th_TH
dc.title.alternativeRelationship between supervision behaviors of school administrators and morale in job performance of teachers in the opportunity expansion schools under the Office of the Chiang Mai Primary Educational Service Area 2en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study the level of in-school supervision behaviors of school administrators (2) to study the level of morale in job performance of teachers and (3) to study the relationship between in-school supervision behaviors of school administrators and morale in job performance of teachers. The sample was contained of 278, obtained by stratified random sampling based on school size. The employed research instrument was a rating scale questionnaire on in-school supervision behaviors of school administrators and morale in job performance of teachers, with reliability coefficients of .96 and .97 respectively. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s product-moment correlation. The findings revealed that: (1) supervision behavior of school administrators of the school expanded educational opportunities. Under the Office of Chiang Mai Primary Educational Service Area 2 in the overall and aspects at a high level. Sorting the mean from Behavior of Non-supervisory guidance, supervision of cooperative behavior, behavior control, supervision and guidance, and conduct supervision and guidance information. 2) Teacher morale and morale in the overview and aspects were very level Sort the mean in descending order from relationship with colleagues, welfare, relationship with supervisors, the physical and mental health of the worker, and operating conditions, and 3) the relationship between supervisory behavior of the school administrators and the teachers' morale, had a very positive relationship. It was Statistically significant at the .01 level (r =.809).en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168944.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons