Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10853
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอโณทัย งามวิชัยกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิชัย ครุฑจันทร์, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-14T08:47:53Z-
dc.date.available2023-12-14T08:47:53Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10853-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม.(บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการรับรู้ภาพลักษณ์ตราสินค้าวาล์วของพนักงานฝ่ายผลิตในโรงงานน้ำตาลทรายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับการรับรู้ภาพลักษณ์ตราสินค้าวาล์วของพนักงานฝ่ายผลิตในโรงงานน้ำตาลทรายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ (3) เปรียบเทียบระดับการรับรู้ภาพลักษณ์ตราสินค้าวาล์วของพนักงานฝ่ายผลิตในโรงงานน้ำตาลทรายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ พนักงานในฝ่ายผลิตของโรงงานน้ำตาลทรายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 19 โรงงาน พนักงานฝ่ายผลิตทั้งสิ้น 3,460 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามสูตรของทาโร่ ยามาเน่ ได้จำนวนทั้งสิ้น 359 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีผลต่างนัยสำคัญน้อยที่สุด และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับการรับรู้ภาพลักษณ์ตราสินค้าวาล์วในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านชื่อเสียงตราสินค้า อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ด้านเอกลักษณ์ความแตกต่างตราสินค้า และด้านการสนับสนุนตราสินค้า ตามลำดับ (2) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในภาพรวมมีความสัมพันธ์กับระดับการรับรู้ภาพลักษณ์ตราสินค้าวาล์วอุตสาหกรรม เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีเพียงปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในด้านช่องทางการจัดจำหน่ายที่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ภาพลักษณ์ตราสินค้าวาล์วอุตสาหกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 และ (3) ฝ่ายผลิตในโรงงานน้ำตาลทรายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งหน้าที่และประสบการณ์ทำงานแตกต่างกันมีระดับการรับรู้ภาพลักษณ์ตราสินค้าวาล์วแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมน้ำตาลทราย--วาล์วth_TH
dc.titleการรับรู้ภาพลักษณ์ตราสินค้าวาล์วอุตสาหกรรมของพนักงานฝ่ายผลิตโรงงานน้ำตาลทรายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือth_TH
dc.title.alternativeBrand image perception of industrial valve to the staff of production unit of Sugar Mills in Northeastern Regionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are to: (1) study level Brand Image Perception of Industrial Valve to the staff of Production Unit of Sugar Mills in Northeastern Region, (2) study the relationship between marketing mix factors and Brand Image Perception of Industrial Valve to the staff of Production Unit of Sugar Mills in Northeastern Region, and (3) to compare Brand Image Perception of Industrial Valve level of production Unit of Sugar Mills in Northeastern Region, categorized by personal factors. The research was a survey research. The population used in the research is Employees in the production department of the sugar factory in the northeastern region, 19 factories, 3,460 employees of the whole production department. The sample size was 359 samples calculated by Taro Yamane formula. The sampling method was Simple random sampling. The research tool was a questionnaire with 0.96 reliability. The statistic employed were percentage, mean, standard deviation, t-test, and one-way analysis of variance (ANOVA) and paired comparison method. The research findings revealed that: (1) the Brand Image Perception of level was at a high level in the overall when considering each aspect found that there is the high level in three aspects: Brand reputation Identity, Brand differentiation and Brand supporting respectively. (2) The opinions about in the overall marketing mix factors are related to the image of the industrial valve brand image, when considering each aspect found that only opinion on marketing mix factors in distribution channels were related to the image of the industrial valve brand image at the statistical significance level of 0.05. and (3) Production department in the sugar factory in the northeastern region who has different gender, age, education degree, positions and work experience that the valve brand image perceived of level is different with statistical significance at the level of 0.05.en_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.9 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons