กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10854
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorบุญศรี พรหมมาพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลาวัลย์ รักสัตย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนันทพร สงวนหงษ์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-14T08:50:31Z-
dc.date.available2023-12-14T08:50:31Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10854-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาแบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตราด และ (2) ตรวจสอบ คุณภาพแบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตราด กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตราด ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จำนวน 591 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบวัดทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความตรง ความเที่ยง ความยากและ อำนาจจำแนก ผลการวิจัยพบว่า (1) แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่สร้างขึ้น มีจำนวน 45 ข้อ วัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 13 ทักษะ ได้แก่ ทักษะการสังเกต ทักษะการวัด ทักษะการจำแนกประเภท ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา ทักษะการคำนวณ ทักษะการจัดกระทำข้อมูลและสื่อความหมายข้อมูล ทักษะการลงความคิดเห็น จากข้อมูล ทักษะการพยากรณ์ ทักษะการตั้งสมมติฐาน ทักษะการกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ ทักษะการกำหนดและควบคุมตัวแปร ทักษะการทดลอง และทักษะการตีความหมายข้อมูลและลง ข้อสรุป และ (2) แบบวัดมีค่าความตรงระหว่าง .60 -1.00 ค่าความเที่ยงเท่ากับ .84 ค่าความยาก ระหว่าง 21- .78 และค่าอำนาจจำแนกระหว่าง .21- .79th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.167-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--ตราดth_TH
dc.subjectการวัดผลทางการศึกษาth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การวัดผลth_TH
dc.titleการพัฒนาแบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตราดth_TH
dc.title.alternativeThe development of a science process skills test for Mattayom Suksa III students in Trat Educational Service Areath_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.167-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การประเมินการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeResearch findings were as follows: (1) The developed science process skills The objectives of this study were (1) to develop a science process skills test for Mattayom Suksa III students in Trat Educational Service Area; and (2) to verify the quality of the science process skills test for Mattayom Suksa III students in Trat Educational Service Area. The sample consisted of 591 Mathayom Suksa III students in schools under the office of Trat Educational Service Area and obtained by multi-stage sampling. The instruments used in this research was a science process skill test. The data analysis were validity, reliability, difficulty index and discrimination index. test form 45 items for assessment of thirteen factors. The thirteen skills under assessment were observing skills, measuring skills, classifying skills, using space/time relationships skills, using number skills, communicating skills, inferring skills, predicting skills, formulating hypothesis skills, identifying and controlling variable skills, experimenting skills, defining variable operationally skills and interpreting data and making conclusion skills. (2) The validity of the test were in the range of .60 to 1.00. Its reliability was .84. The difficulty index were in the range of 21 to.78 and discrimination index were in the range of .21 to 79en_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Edu-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.56 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons