Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1086
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมโภช รติโอฬาร | th_TH |
dc.contributor.author | อุไรรัตน์ ศรีสม, 2509- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-26T08:29:27Z | - |
dc.date.available | 2022-08-26T08:29:27Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1086 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการรับรู้ของบุคลากรสาธารณสุขจังหวัดหนองคายเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากรในระบบมาตรฐาน 1104 (2) เปรียบเทียบการรับรู้เกี่ยวกับระบบมาตรฐาน P.S.O. 1104 บุคลากรสาธารณสุขจังหวัดหนองคายจากลักษณะส่วนบุคคล ลักษณะด้านเศรษฐกิจและสังคม ตำแหน่งทางราชการ และสิ่งสนับสนุนอื่นที่เกี่ยวข้อง (3) ศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการพัฒนาบุคลากรสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย กลุ่มตัวอย่างจำนวน 338 คน สุ่มแบบชั้นภูมิจากบุคลากรสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย เครื่องมือคือแบบสอบถามที่พัฒนาเกณฑ์มาตรฐาน P.S.O.1104 ที่มีความเที่ยง .94 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ การทดสอบที การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว และการ ทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า (1) บุคลากรสาธารณสุขจังหวัดหนองคายมีการรับรู้เกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากรตามเกณฑ์มาตรฐาน P.S.O.1104 อยู่ในระดับสูง ร้อยละ 35.30 (2) อายุมากมีการรับรู้ มากกว่าอายุน้อยกว่าอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p-value=0.01) เพศหญิงกับเพศชายมีการรับรู้ไม่แตกต่างกัน ระดับการศึกษาสูง แตกต่างกันมีการรับรู้ไม่แตกต่างกัน รายได้สูงมีการรับรู้สูงกว่าผู้มีรายได้น้อยกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value<0.001) ประสบการณ์มากขึ้นมีการรับรู้มากกว่าผู้มีประสบการณ์น้อยกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value =0.02) การเป็นคณะกรรมการ P.S.O มีการรับรู้มากกว่า ไม่ได้เป็น คณะกรรมการ P.S.O. อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value=0.01) ตำแหน่งผู้บริหารมีการรับรู้มากกว่าตำแหน่งผู้ปฏิบัติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P-value=0.02) การได้รับ การอบรม P.S.O. มีการรับรู้มากกว่าการไม่ได้รับการอบรมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p-value<0.001) ผู้ที่ได้รับข้อมูลข่าวสาร มีการรับรู้มากกว่าผู้ที่ไม่ได้รับข้อมูลข่าวสาร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value<0.001) (3) ปัญหาอุปสรรคที่พบคือบุคลากรสาธารณสุขส่วนใหญ่ยังขาดความรู้เกี่ยวกับระบบมาตรฐาน P.S.O.1104 ไม่ได้รับข้อมูลข่าวสาร นโยบายไม่ชัดเจน ขาดผู้รับผิดชอบ โดยเฉพาะ โดยให้ข้อเสนอแนะว่าหน่วยงานควรมีนโยบายในการดำเนินงานชัดเจน สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาบุคลากรและมอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.177 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | บุคลากรสาธารณสุข--ไทย--หนองคาย | th_TH |
dc.subject | การพัฒนาบุคลากร | th_TH |
dc.title | การรับรู้ของบุคลากรสาธารณสุขจังหวัดหนองคายเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากรตามระบบมาตรฐานสากลของประเทศไทยด้านการจัดการและสัมฤทธิผลของงานภาครัฐ ระบบมาตรฐาน 1104: ระบบการพัฒนาบุคลากร | th_TH |
dc.title.alternative | Perceptions of health personnels about personnel development in Nongkai province, according to the Thailand International Public Sector Standard Management System and Outcomes P.S.O.1104: personnel development system | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2003.177 | - |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารสาธารณสุข) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The Purposes of this study were to (1) identify the level of health personnel’s perceptions about personnel development according to the p.s.0.1104: Personnel Development System (2) Compare the perceptions among health personnel who were having the differences of the personal factors, the socio-economics factors and the related factors and (3) explore the problems the obstacles and the suggestions on the health personnel development in the official positions Nongkhai Province Samples were 338 health personnel who were selected by stratified random sampling. Questionnaires were developed from the p.s.0.1104. Their reliability were 0.94 . Mean, standard deviation, percentage, t-test, One-way ANOVA. and using Scheffe technique for were used for analysis of the data. The results showed that (1) the perceptions of Nongkhai health personnel about personnel development according to The p.s.0.1104; in summation, were having high, levels at 55.3%. (2) The perceptions of health personnel in older age group higher than those younger at statistic significant (p -value=0.01).There were no different with perceptions between female and male. The higher graduation levels had no different with perceptions. But higher incomes were higher perceptions than those lower incomes (p-value<0.001). Higher experiences were higher perceptions than those lower experiences (p-value=0.02). The p.s.o. committee were higher perceptions than those who were not (p-value=0.01). The administrators were higher perceptions than other officers (p-value=0.02). The personnel with p.s.o.training were higher perceptions than those without training (p-value<0.001). And health personnel with more accessibility to information were higher perception than those with less accessibility (p-value<0.001). (3) The problems and the obstacles revealed that health personnel were having insufficient of p.s.0.1104 knowledge lack of information ; there were unclear policies, no specific responsible persons; the suggestions were the policy should be clear, the supporting of personal development’s budget and responsive person for personal development were needed | en_US |
dc.contributor.coadvisor | นิตยา เพ็ญศิรินภา | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | คนองยุทธ กาญจนกูล | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License