Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10876
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญศรี พรหมมาพันธุ์th_TH
dc.contributor.authorภูมิชนะ เกิดพงษ์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-15T06:18:44Z-
dc.date.available2023-12-15T06:18:44Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10876en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ประเมินหลักสูตร Modern Language Program โรงเรียนอัสสัมชัญสมุทรปราการ ในด้านความเหมาะสมของวัตถุประสงค์หลักสูตร ด้านปัจจัย เบื้องต้น ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 7 คน ครูผู้สอน จำนวน 43 คน นักเรียน จำนวน 270 คน ผู้สำเร็จการศึกษา จำนวน 159 คน และผู้ปกครอง จำนวน 152 คน รวม ทั้งสิ้น 631 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ และแบบบันทึกข้อมูลผลการเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตราฐานและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1. ด้านความเหมาะสมของวัตถุประสงค์หลักสูตร มีความเหมาะสมในระดับมาก 2. ด้านปัจจัยเบื้องต้น พบว่า โครงสร้างหลักสูตร (ช่วงชั้นที่ 3) มีความเหมาะสมใน ระดับมาก ส่วนโครงสร้างหลักสูตร (ช่วงชั้นที่ 4) ผู้บริหารเห็นว่ามีความเหมาะสมในระดับมาก ส่วนครูผู้สอนและนักเรียนเห็นว่ามีเหมาะสมในระดับปานกลาง ด้านเนื้อหาและด้านครูผู้สอนมี ความเหมาะสมในระดับมาก ส่วนด้านนักเรียนนั้น ผู้บริหารเห็นว่ามีความเหมาะสมในระดับมาก ส่วนครูผู้สอนเห็นว่ามีความเหมาะสมในระดับปานกลาง ด้านอาคารสถานที่ สื่อและวัสดุอุปกรณ์ มีความเหมาะสมในระดับมาก 3. ด้านกระบวนการ ได้แก่ การบริหารหลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการ วัดและประเมินผลมีความเหมาะสมในระดับมาก 4. ด้านผลผลิต คุณลักษณะผู้สำเร็จการศึกษามีความเหมาะสมในระดับมาก คุณภาพ ทางวิชาการผู้สำเร็จการศึกษาอยู่ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.202en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงเรียนอัสสัมชัญสมุทรปราการ--หลักสูตรth_TH
dc.subjectการประเมินหลักสูตรth_TH
dc.subjectหลักสูตรสองภาษาth_TH
dc.titleการประเมินหลักสูตร Modern language program โรงเรียนอัสสัมชัญสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการth_TH
dc.title.alternativeAn evaluation of the Modern Language Program curriculum of Assumption college Samut Prakarn, in Samut Prakan provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.202-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การประเมินการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to evaluate the Modern Language Program at Assumption Samut Prakarn School on its appropriate objectives of curriculum on primary input, process and output The research sample, 631 persons, consists of 7 school administrators, 43 teachers, 270 students, 159 graduates from school and 152 students' parents. The employed research instruments were a 5-rate rating scale questionnaire, and a form of Students' learning result. Statistics for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and content analysis. Research findings were as follows : (1) The appropriateness of the curriculum objectives were at the high level. (2) Regarding the basic input, the curriculum structure of the 3rd level was at the high level and the curriculum structure of the 4th level, regarding the school administrators, was found that the curriculum structure of the 4th level was at high level. Regarding teachers and students, it was found that it was at moderate appropriateness. Regarding the contents and teachers, it was found that it was at high appropriateness. Regarding the students, the school administrators found that the students were at high appropriateness, the teachers found that the students were at moderate appropriateness. Regarding the buildings and education materials, it was found that it was at high appropriateness. (3) Regarding the process, the curriculum management, learning management, and evaluation process were at high appropriateness. (4) Regarding the output, characteristics of gradate students were at high appropriateness and the academic quality of graduate students was at high level.th_TH
dc.contributor.coadvisorศศิกาญจน์ ทวิสุวรรณth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.04 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons