Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10878
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุชา ภูริพันธุ์ภิญโญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเชาว์ โรจนแสง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปาริฉัตร อัตถากร, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-15T06:27:52Z-
dc.date.available2023-12-15T06:27:52Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10878-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม.(สหกรณ์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการในการรับบริการของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลมหาสารคาม จำกัด 2) เปรียบเทียบความต้องการในการรับบริการของสมาชิกสหกรณ์จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 3) ศึกษาปัญหาและเสนอแนะแนวทางในการให้บริการของสหกรณ์ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลมหาสารคาม จำกัด จำนวน 1,504 คน คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรทาโร่ยามาเน่ ที่ระดับความคลาดเคลื่อน 0.05 ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 316 คน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติอ้างอิง ได้แก่ การทดสอบค่าสถิติ การทดสอบค่าสถิติ F การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ความต้องการในการรับบริการของสมาชิกสหกรณ์โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าสมาชิกสหกรณ์มีความต้องการการบริการด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการในระดับมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ด้านการดำเนินงาน ด้านการให้ข้อมูลข่าวสารของสหกรณ์ และด้านสถานที่ วัสดุครุภัณฑ์ ตามลำดับ ซึ่งมีความต้องการของสมาชิกในระดับมาก 2) สมาชิกสหกรณ์ที่มีอายุ สถานภาพการสมรส ระดับรายได้ และระยะเวลาการเป็นสมาชิกที่แตกต่างกันมีความต้องการในการรับบริการที่ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 เพศและระดับการศึกษาของสมาชิกสหกรณ์ที่แตกต่างกัน มีความต้องการในการรับบริการแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 3) ปัญหาการให้บริการของสหกรณ์แก่สมาชิก ได้แก่ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการสมาชิก การจัดเก็บเอกสารและเทคโนโลยี โดยมีข้อเสนอแนะเจ้าหน้าที่สหกรณ์ควรเอาใจใส่ต่อการให้บริการแก่สมาชิก มีมนุษยสัมพันธ์และการบริการด้วยใจ มีการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่สหกรณ์ผู้ให้บริการให้มีความรอบรู้ สามารถตอบข้อซักถามและให้คำแนะนำแก่สมาชิกได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และชัดเจนการจัดเอกสารอย่างเป็นระบบมีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการให้บริการแก่สมาชิกอย่างมีประสิทธิภาพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลมหาสารคาม--สมาชิก--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.titleความต้องการในการรับบริการของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลมหาสารคาม จำกัดth_TH
dc.title.alternativeThe member's service demand of Maha Sarakham Hospital Saving Cooperative Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe research objectives were to 1) study the members’ service demand of Maha Sarakham hospital saving cooperatives limited, 2) compare the members’ service demand to the different personal factors, and 3) study the problems and suggest the guidance for the saving cooperatives limited. The study population was comprised of 1,504 members of Maha Sarakham hospital saving cooperatives limited. The sample size was calculated by Taro Yamane's formulation at 0.05 error. It turned out of 316 individuals as sample size. Accidental sampling technique was applied. The questionnaire was utilized as the data collection tool. The data analysis was applied descriptive statistics---percentage, arithmetic mean and standard deviation, and the inferential statistic---t-test, F-test, One –way ANOVA and content analysis. Research findings found that 1) as a whole, the members’ service demand of Maha Sarakha m hospital saving cooperatives limited was in the highest level of demand. Focusing on a specific area, it found that there was the high demand of cooperatives members for the provided service officers followed by cooperative operation, cooperatives inform ation provider, location, materials, and durable goods, respectively which showed up with the high level of members’ service demand, 2) the difference of members’ age, married status, income level, and the membership duration had no difference of members’ service demand at 0.5 level of statistical significance while the difference of gender and education level had a difference of members’ service demand at 0.5 level of statistical significance, 3) the cooperative problems for members’ service demand were th e service officers, the document management, technology application for members’ services demand, the guidance’s for cooperatives services would suggest that the provided service officers would pay attention for their services, good human relationship, s ense of service mind. Also, the cooperative would have contained the officers’ training program for knowledgeable, able to answer the members’ questions and give members information clearly and concisely. The cooperative would apply the modern technology f or member’s service demand efficiently.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.92 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons