Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10883
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทรงลักษณ์ สกุลวิจิตร์สินธุ์th_TH
dc.contributor.authorลินดา จั่นเพ็ชร์, 2518-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-15T07:00:30Z-
dc.date.available2023-12-15T07:00:30Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10883en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในเขตจังหวัดนนทบุรี 2) เปรียบเทียบการใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในเขตจังหวัดนนทบุรี จำแนกตามเพศและคะแนนเฉลี่ย 3) เพื่อศึกษาปัญหาการใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในเขตจังหวัดนนทบุรี วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในเขตจังหวัดนนทบุรี ปีการศึกษา 2562 จำนวน 5,999 คนโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 360 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้สถิติการทดสอบค่าทีและการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในเขตจังหวัดนนทบุรีส่วนใหญ่มีการใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาในระดับปานกลาง ด้านการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ ได้แก่ การใช้คู่มือแนะนำคณะและมหาวิทยาลัย และด้านการใช้แหล่งสารสนเทศ ได้แก่ การขอคำแนะนำจากครูแนะแนว 2) เปรียบเทียบการใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในเขตจังหวัดนนทบุรีจำแนกตามเพศพบว่า เพศหญิงมีการใช้ทรัพยากรสารสนเทศที่สูงกว่าเพศชาย ถ้าจำแนกตามคะแนนเฉลี่ยพบว่า นักเรียนที่มีระดับคะแนนเฉลี่ย ตั้งแต่ 3.01 ขึ้นไป มีการใช้ทรัพยากรสารสนเทศมากกว่านักเรียนที่มีระดับคะแนนเฉลี่ยน้อยกว่าหรือเท่ากับ 3.00 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ปัญหาการใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในเขตจังหวัดนนทบุรีโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ ปัญหาด้านจำนวนทรัพยากรสารสนเทศไม่เพียงพอต่อความต้องการและระยะทางเดินทางไปห้องสมุดอยู่ไกลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสารสนเทศ--การศึกษาการใช้th_TH
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย--การศึกษาต่อth_TH
dc.titleการใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในเขตจังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeInformation use for pursuing college education by Matayom Suksa VI students in Nonthaburi provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims 1) to study information use for pursuing college education by Matayom Suksa (upper secondary) VI students in Nonthaburi province; 2) to compare information use for pursuing college education based on the genders and the grade point averages of Matayom Suksa VI students in Nonthaburi province; and 3) to study the problems of information use for pursuing college education by Matayom Suksa VI students in Nonthaburi province. This research was a survey study, and the target population consisted of 5,999 upper secondary students in Nonthaburi (the academic year 2019). By using a sampling method, there were 360 samples. The questionnaires were used as the instrument for data collection, and the statistical tools, i.e., percentage, mean, standard deviation, t-test and one-way analysis of variance were used for the data analysis. The research findings were summarized as follows: 1) The Matayom Suksa VI students in Nonthaburi province mostly used information for pursuing college education at the moderate level, including the use of information resources with the university handbooks and the use of information sources with the advice by school counselors 2) to compare information use for pursuing college education by gender where it was found that females have higher use of information resources than males. If classified by average score it was found that students with a grade point average of 3.01 or higher have higher use of information resources than students with a grade point average of less than or equal to 3.00 when the mean scores were different with statistical significance at the .05 level. 3) The problems of information use were at the moderate level, namely insufficient information sources and the distance of the libraries.en_US
dc.contributor.coadvisorน้ำทิพย์ วิภาวินth_TH
dc.contributor.coadvisorธาดาศักดิ์ วชิรปรีชาพงษ์th_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.55 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons