Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10889
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มาลี สุรเชษฐ | th_TH |
dc.contributor.author | พงศกร สง่าผล, 2518- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-15T07:58:38Z | - |
dc.date.available | 2023-12-15T07:58:38Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10889 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาที่มา ความหมาย และหลักการพื้นฐานของการประเมินสิ่งแวดล้อมในระดับยุทธศาสตร์ 2) เพื่อศึกษาและวิเคราะห์โครงสร้างและตัวบทของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประเมินสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย 3) เพื่อวิเคราะห์หลักการและโครงสร้างของของกฎหมายต่างประเทศว่าด้วยเรื่องของการจัดทำรายงานการประเมินสิ่งแวดล้อมในระดับยุทธศาสตร์ 4) เพื่อนำผลการศึกษาที่ได้มาสู่ข้อเสนอแนะในการกำหนดกรอบกฎหมายว่าด้วยการประเมินสิ่งแวดล้อมในระดับยุทธศาสตร์ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยเอกสารจากเอกสารปฐมภูมิ ได้แก่ กฎหมายภายในประเทศทั้งในระดับรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติ กฎหมายระหว่างประเทศในระดับอนุสัญญาและพิธีสาร และกฎหมายต่างประเทศทั้งในระดับภูมิภาคและระดับประเทศ นอกจากจากนี้ผู้วิจัยจะทําการศึกษา ค้นคว้าข้อมูลในระดับทุติยภูมิจากตําราด้านกฎหมาย รายงานการวิจัย บทความในวารสาร เอกสารการสัมมนา และข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า 1) การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ มีที่มาจากหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน และหลักการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมซึ่งประกอบไปด้วย หลักป้องกันล่วงหน้า หลักการมีส่วนร่วมของประชาชน และหลักธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม 2) กฎหมายของประเทศไทยทั้งในระดับรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติได้มีการนำหลักการพัฒนาที่ยั่งยืนและหลักคุ้มครองสิ่งแวดล้อม มาเป็นหลักการพื้นฐานของการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับโครงการ 3 บทบัญญัติในพิธีสารว่าด้วยการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ภายใต้อนุสัญญาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดน ได้นำหลักการพัฒนาที่ยั่งยืนและหลักการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม มาบัญญัติเป็นหลักการพื้นฐานสำหรับการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ 4) ประเทศไทยควรกำหนดให้รัฐต้องมีหน้าที่ในการศึกษาและ จัดทำรายงานการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ เพื่อให้สอดคล้องกับหลักความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำทางปกครอง โดยเสนอแนะให้มีการแก้ไขบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช 2560 ในหมวดที่ว่าด้วยหน้าที่ของรัฐ และการเพิ่มเติมบทบัญญัติในส่วนที่ว่าด้วยการประเมินสิ่งแวดล้อม ระดับยุทธศาสตร์ลงไปในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 รวมไปถึงกฎหมายฉบับอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น กฎหมายว่าด้วยการผังเมือง เป็นต้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สิ่งแวดล้อม--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายธุรกิจ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | กรอบกฎหมายว่าด้วยการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ | th_TH |
dc.title.alternative | Legal framework for strategic environmental assessment | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this independent study is 1) to study background meaning and basic principle of the strategic environmental assessment 2) to study and analyze structure and content of Thai’s law relate with environmental assessment 3) to analyze principle and structure of foreign law relate with strategic environmental assessment 4) to interpret all information into suggestion in legal framework of strategic environmental assessment that appropriate for Thailand. This independent study is qualitative research by documentary research methodology from primary sources for example; domestic law relating both constitutional and act level, international law in convention and protocol level as well as international law in regional level. In addition, the researcher study the secondary sources from textbooks, research papers, journals, seminar’s document and information from internet. The result indicated that 1) the strategic environmental assessment derive from sustainability development principle and environmental protection principle which consist of the pre protection principle, the principle of public participation and the environmental good governance principle ;2) The Constitution of the Kingdom of Thailand and Environmental Quality Promotion and Protection Acts B.E. 2535 had included both Sustainability Development Principle and Environmental Protection Principle as their basic principle for Environmental Impact Assessment (EIA) in project level ;3) The Protocol on Strategic Environmental Assessment (SEA Protocol) that mandated under the Convention on Environmental Impact Assessment in a Transboundary Context (Espoo Convention) had included both sustainability development principle and environmental protection principle as their basic principle for Strategic Environmental Assessment (SEA) in strategy level and 4) Thai’s legal should mandate the state’s obligation to provide the Strategic Environmental Assessment (SEA) studying and reporting by revise the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2560 and Environmental Quality Promotion and Protection Acts B.E. 2535 and also related laws such as; Urban Planning Act B.E. 2560. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 41.24 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License