Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10894
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา ชีวะตระกูลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสายฝน ทองเกิด, 2526--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-12-15T08:34:22Z-
dc.date.available2023-12-15T08:34:22Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10894-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความคาดหวังคุณภาพการให้บริการในการจ่ายเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ ของบุคลากรสำนักงานคลังเขต 6 (2) ศึกษาระดับความรับรู้คุณภาพการให้บริการในการจ่ายเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ ของสำนักงานคลังเขต 6 (3) เปรียบเทียบระดับความคาดหวังและการรับรู้คุณภาพการให้บริการในการจ่ายเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ ของสำนักงานคลังเขต 6 การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ศึกษา คือ ผู้ที่มาติดต่อขอรับบริการในสำนักงานคลังเขต 6 โดยไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน ขนาดกลุ่มตัวย่างคำนวณได้ 400 คน ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทคสอบค่าที และการทดสอบค่าเอฟ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความคาดหวังต่อคุณภาพการให้บริการในการจ่ายเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ ของสำนักงานคลังเขต 6 ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยให้ระดับความสำคัญด้านการให้ความมั่นใจ เป็นอันดับแรก รองลงมา ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านการตอบสนองต่อผู้รับบริการ ด้านการรู้จักและเข้าใจ และด้านความเป็นรูปธรรมของบริการ ตามลำดับ (2) ระดับการรับรู้ต่อคุณภาพการให้บริการในการจ่ายเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ ของสำนักงานคลังเขต 6 ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โคยให้ระดับความสำคัญด้านความน่าเชื่อถือ เป็นอันดับแรก รองลงมา ด้านการให้ความมั่นใจ ค้านการตอบสนองต่อผู้รับบริการ ด้านการรู้จักและเข้าใจ ด้านความเป็นรูปธรรมของบริการ ตามลำดับและ (3) การเปรียบเทียบระดับความคาคหวังและการรับรู้ต่อคุณภาพการให้บริการในการจ่ายเบี้ยหวัดบำเหน็จ บำนาญ ของสำนักงานคลังเขต 6 พบว่า โดยรวมผู้รับบริการมีการรับรู้ด้านความน่าเชื่อถือ และการรับรู้ด้านการตอบสนองต่อผู้รับบริการสูงกว่าความคาดหวังต่อคุณภาพการให้บริการในการจ่ายเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ ของสำนักงานคลังเขต 6 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานคลัง เขต 6--การบริการลูกค้าth_TH
dc.subjectบำเหน็จบำนาญth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleคุณภาพการให้บริการในการจ่ายเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ ของสำนักงานคลังเขต 6th_TH
dc.title.alternativeService quality on pension payment of the Regional 6 Office of the Comptroller General's departmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study aimed (1) to study the expectation level of service quality on pension payment of the Regional 6 Office of the Comptroller General’s Department (2) to study the perception level of service quality on pension payment of the Regional 6 Office of the Comptroller General’s Department, and (3) to compare between expectation level and perception level of service quality on pension payment of the Regional 6 Office of the Comptroller General’s Department. The population of this quantitative research was unknown number of people who received the service at the Regional 6 Office of the Comptroller General’s Department. The sample size was determined by Taro Yamane formula and yielded 400 samples with convenience sampling method. A constructed questionnaire was used as a tool to collect data. Statistics used for data analysis comprised descriptive statistic such as frequency, percentage, mean, and standard deviation, and inferential statistics such as t-Test and F-Test. The findings revealed that (1) the expectation level of service quality on pension payment of the Regional 6 Office of the Comptroller General’s Department was overall at the highest level. As for individual aspects, ranking in order from highest to lowest was an importance on the assurance, followed by the reliability, the responsiveness, the recognition and understanding and the service concrete, respectively (2) the perception level of service quality on pension payment of the Regional 6 Office of the Comptroller General’s Department was at the highest level, ranking from high to low as giving an importance on the reliability at the first place, followed by the confidence, the customer responsiveness, the recognition and understanding and the service concrete, respectively, and (3) the comparison between the expectation level and perception level of service quality on pension payment of the Regional 6 Office of the Comptroller General’s Department as a whole revealed that the customers perceived toward the reliability and the customer’s responsiveness were higher than the service quality with the statistical significance at 0.05 levelen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.46 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons