Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10906
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทิพย์เกษร บุญอำไพ | th_TH |
dc.contributor.author | สันติ ครองยุทธ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-19T03:40:31Z | - |
dc.date.available | 2023-12-19T03:40:31Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10906 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์วิชาการผลิต รายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเรื่อง การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ผลิตรายการโทรทัศน์สำหรับนักศึกษา ระดับ ปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) ศึกษา ความก้าวหน้าทางการเรียนของนักศึกษา ที่เรียนจากชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ที่ได้พัฒนาขึ้น และ(3) เพื่อ ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ที่ได้พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาวิชาเอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล จำนวน 42 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์วิชาการผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา เรื่อง การใช้ เครื่องมือและอุปกรณ์ผลิตรายการโทรทัศน์ จำนวน 3 หน่วยประสบการณ์ ได้แก่ หน่วยประสบการณ์ที่ 12 เรื่อง การใช้อุปกรณ์กล้อง (กล้องเดี่ยว) แสงและเสียงสำหรับผลิตรายการโทรทัศน์ หน่วยประสบการณ์ที่ 14 การตัดต่อลำดับภาพด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ และหน่วยประสบการณ์ที่ 15 เรื่อง การดูแลและเก็บรักษาเครื่องมือ และอุปกรณ์ผลิตรายการโทรทัศน์ (2) แบบทดสอบก่อนและหลังเผชิญประสบการณ์ และ (3) แบบสอบถาม ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อคุณภาพของชุดการสอน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การหาค่าประสิทธิภาพ โดยใช้ E,/E, ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์วิชา การผลิตรายการโทรทัศน์การศึกษา เรื่อง การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ผลิตรายการโทรทัศน์ ที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น หน่วยที่ 12, 14 และ15 มี ประสิทธิภาพ 77.60/76.96, 75.78/75.45 และ 75.63/77.57 ตามลำดับซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 75/75 (2) นักศึกษาที่ เรียนจากชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์มีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักศึกษามีความคิดเห็นต่อคุณภาพชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์อยู่ในระดับเหมาะสมมาก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.28 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | รายการวิทยุ--การผลิตและการกำกับรายการ--การสอนด้วยสื่อ | th_TH |
dc.subject | การสอนด้วยสื่อ | th_TH |
dc.title | ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์วิชาการผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเรื่องการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ผลิตรายการโทรทัศน์สำหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล | th_TH |
dc.title.alternative | Experience-based instructional packages in the Educational Television Program Production Course on the topic of the Uses of Studio Tools and Equipment for Television Program Production for students of Rajamangala University of Technology | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2007.28 | - |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to: (1) develop experience-based instructional packages in the Educational Television Program Production Course on the topic of the Uses of Studio Tools and Equipment for Television Program Production for third year undergraduate students of Rajamangala University of Technology to meet the set efficiency criterion; (2) study the learning progress of the students after studying from the developed instructional packages; and (3) study students' opinions toward the quality of the developed instructional packages. The sample consisted of 42 purposively selected third year undergraduate students in the Educational Technology and Communications Program of Rajamangala University of Technology. The research instruments were (1) three units of experience-based instructional packages in the Educational Television Program Production Course on the topic of the uses of Studio Tools and Equipment for Television Program Production, namely, Unit 12: The Uses of Television Camera (Single Camera), Light and Sound for Television Program Production; Unit 14: Non-linear Editing with the Computer; and Unit 15: Maintenance of Television Studio Tools and Equipment; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post- testing; (3) a questionnaire on student's opinions toward the quality of the instructional packages. Statistics for data analysis were the E,/E2 efficiency index, mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the three units of the developed experience-based instructional packages had efficiency indices of 77.60/76.96; 75.78/75.45 and 75.63/77.57 thus meeting the 75/75 efficiency criterion; (2) students' learning achievement was increased significantly at the .05 level; and (3) students' opinions toward the quality of the developed experience-based instructional packages were at the "vary appropriate" level. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | พงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 10.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License